คลังเอกสาร

สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวในประเทศไทย – The Right to Privacy in Thailand (UPR 2nd cycle)

สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว - รายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน การประชุมครั้งที่ 25 – ราชอาณาจักรไทย | The Right to Privacy - Universal Periodic Review 25th Session – Kingdom of Thailand
เปิดประตูสู่การอภิบาลอินเทอร์เน็ต

เปิดประตูสู่การอภิบาลอินเทอร์เน็ต – An Introduction to Internet Governance

2 comments

เปิดประตูสู่การอภิบาลอินเทอร์เน็ต -- แปลจาก An Introduction to Internet Governance (6th Edition, 2014) Jovan Kurbalija เขียน; พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ แปล (PDF)
รายงานพลเมืองเน็ต 2557 - Thai Netizen Report 2014

รายงานพลเมืองเน็ต 2557 – Thai Netizen Report 2014

สถานการณ์เสรีภาพอินเทอร์เน็ตและสิทธิทางดิจิทัลของไทย ม.ค.-ก.ย. 2557 Report on Internet freedom and digital rights in Thailand. Jan-Sep 2014

หลักการมะนิลาว่าด้วยความรับผิดของสื่อตัวกลาง

Manila Principles on Intermediary Liability การสื่อสารด้วยอินเทอร์เน็ตต้องผ่านช่องทางของสื่อตัวกลาง นโยบายกำกับดูแลความรับผิดทางกฎหมายของสื่อตัวกลางมีผลกระทบต่อสิทธิของผู้ใช้งาน เพื่อคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออกและสนับสนุนโครงสร้างเพื่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ที่อยู่บนความสมดุลของความต้องการของภาครัฐกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ กลุ่มภาคประชาสังคมทั่วโลกได้ประชุมและเสนอกรอบหลักประกันขั้นพื้นฐานและแนวปฏิบัติที่ดีสุด

รายงานผลการพิจารณาศึกษากฎหมายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม – สภาปฏิรูปแห่งชาติ

รายงานผลพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ สภาปฏิรูปแห่งชาติ

คู่มือประเมินผลกระทบในการตรากฎหมาย (RIA) ของประเทศญี่ปุ่น

Japanese Regulatory Impact Assessment Handbook แปลโดย ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล จากต้นฉบับภาษาญี่ปุ่น

สิทธิความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล

สิทธิความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล - รายงานของสำนักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (ฉบับแปลภาษาไทย)

รายงานพลเมืองเน็ต 2556 – Thai Netizen Report 2013

รวบรวมข้อมูล บทวิเคราะห์ และจุดยืนของเครือข่ายพลเมืองเน็ต ต่อสถานการณ์สิทธิเสรีภาพ การมีส่วนร่วมในการกำกับดูแลนโยบายอินเทอร์เน็ต และวัฒนธรรมอินเทอร์เน็ตไทย ในปี 2556 A compilation of findings, analysis, and statements of Thai Netizen Network on internet freedom situation, internet policy, and online culture in the year of 2013.
หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิมนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร (หลัก 13 ประการ)

หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิมนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร (หลัก 13 ประการ)

International Principles on the Application of Human Rights to Communications Surveillance เอกสารฉบับนี้พยายามอธิบายว่าจะนำกฎหมายสิทธิมนุษยชนสากลมาใช้กับสภาพแวดล้อมดิจิทัลในปัจจุบันได้อย่างไร โดยเฉพาะในขณะที่เทคโนโลยีและเทคนิคการสอดแนมการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงและมีเพิ่มมากขึ้น กลุ่มภาคประชาสังคม ภาคอุตสาหกรรม ภาครัฐ และกลุ่มอื่น ๆ สามารถยึดหลักการเหล่านี้เป็นกรอบในการประเมินว่า กฎหมายและการปฏิบัติเกี่ยวกับการสอดแนมการสื่อสารที่มีอยู่ในปัจจุบันหรือที่กำลังจะมีขึ้น สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนหรือไม่ หลักการเหล่านี้เป็นผลมาจากการปรึกษาหารือระดับสากลกับบรรดากลุ่มภาคประชาสังคม ภาคอุตสาหกรรม และผู้ชำนาญการระหว่างประเทศด้านกฎหมาย นโยบาย และเทคโนโลยีการสอดแนมการสื่อสาร

ผลกระทบของการสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐต่อความเป็นส่วนตัวและเสรีภาพการแสดงออก

รายงานของผู้รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก แฟรงค์ ลารัว รายงานต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ สมัยประชุมที่ 23 วาระที่ 3