คลังเอกสาร

ความคิดเห็นต่อ ร่างพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. … (ตุลาคม 2561)

1 comment

เสนอให้ระบุให้ชัดเจน ในร่างพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ว่า กิจการและกิจกรรมทั้งหมดภายใต้พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์จะอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และให้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลบังคับใช้ก่อนจึงจะบังคับใช้กฎหมายความการรักษามั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ได้

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. … (ก.ย. 2561)

เครือข่ายพลเมืองเน็ต 20 กันยายน 2561 1. การประมวลผลข้อมูลที่พระราชบัญญัตินี้จะไม่ใช้บังคับต้องมีเท่าที่จำเป็น และการยกเว้นต้องระบุผู้ประมวลผลข้อมูลและจุดประสงค์ของการประมวลผลอย่างเฉพาะเจาะจง (มาตรา 4) 2. ความเป็นอิสระและทรัพยากรของคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและสำนักงาน

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. … (ก.ย. 2561)

เครือข่ายพลเมืองเน็ต 20 กันยายน 2561 1. ความเป็นอิสระของคณะกรรมการและสำนักงาน (ประเด็นการลงทุนตามมาตรา 7) 2. การ(ไม่)สนับสนุนการรวมตัวของคนทำงาน การคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม (มาตรา 5)

ข้อสังเกตต่อ ร่างพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ (ฉบับที่…) พ.ศ. … [27 มี.ค. 2561]

ที่มาและความเป็นอิสระของคณะกรรมการ รวมถึงทรัพยากรที่จะทำให้คณะกรรมการทำงานได้จริง ยังคงเป็นประเด็นใหญ่ที่สุดของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เช่นเดียวกับคณะกรรมการอีกจำนวนมากของไทย ที่โดยโครงสร้างแล้วทำให้มีความยากลำบากที่จะตรวจสอบหน่วยงานรัฐด้วยกันเองได้

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (2 ก.พ. 2561)

ชื่อและสกุล ต้องเป็นข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลผู้เสียชีวิต ต้องได้รับคุ้มครอง, ข้อมูลติดต่อทางธุรกิจ อาจมีข้อมูลส่วนบุคคลอยู่, การยกเว้นไม่ใช้บังคับกฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลกับบางกิจการทำให้มีช่องว่าง, คณะกรรมการที่ไม่เป็นอิสระจะทำให้ทำงานคุ้มครองยาก, ข้อมูลที่ได้เก็บไปก่อนหน้าที่จะมีกฎหมายอาจใช้ต่อไปได้ถ้าทำตามเงื่อนไข

การควบคุมเน็ตหลังรปห. 2557 [ผัง] / Internet Control after 2014 Coup [Diagram]

ความเปลี่ยนแปลงในการควบคุมสื่อ(ออนไลน์) หลังรัฐประหาร 2559 -- ในไฟล์ PDF สามารถคลิกที่ชื่อคำสั่ง/ประกาศเพื่ออ่านรายละเอียดได้
12 ข้อเสนอแก้ไขร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (28 มิ.ย. 2559)

พลเมืองเน็ตเสนอ 12 ข้อ แก้ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

2 comments

ม.14 ยังเอาผิดกับเนื้อหาได้ ม.15 เรื่อง Notice ยังไม่มีรายละเอียด ม.16/2 ภาระใหม่ของผู้ให้บริการและผู้ใช้ ม.20(4) ไม่ผิดก็สั่งปิดได้ -- คลิกอ่านเต็มๆ

โลกใหม่ใครกำกับ? กรณีศึกษาเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

หนังสือที่นำกรณีศึกษาเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตมาวิเคราะห์และชวนให้ตั้งคำถาม อาทิ กรณี Netflix กับ Verizon และความเป็นกลางของเครือข่าย, iCloud กับภาพหลุดดารา, นโยบายชื่อจริงของ Facebook, คดีสุรภักดิ์ ว่าด้วยการพิสูจน์พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์, จีรนุช ตัวกลางคดีมาตรา 112, การกำกับดูแลสกุลเงินบิทคอยน์, คดีปิดเว็บประชาไทกับการฟ้องกลับเจ้าหน้าที่รัฐ และจริยศาสตร์ว่าด้วยเพื่อนในโลกออนไลน์ เป็นต้น

การตรวจพิสูจน์หลักฐานดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย

หนังสือแนะนำการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล (digital evidence) ด้วยภาษาธรรมดา มีคำอธิบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวคิดทางเทคนิค-ความแตกต่างของพยานหลักฐานดิจิทัลประเภทต่างๆ เขียนโดย Larry E. Daniel และ Lars E. Daniel, แปลโดย สุนีย์ สกาวรัตน์

สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวในประเทศไทย – The Right to Privacy in Thailand (UPR 2nd cycle)

สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว - รายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชน การประชุมครั้งที่ 25 – ราชอาณาจักรไทย | The Right to Privacy - Universal Periodic Review 25th Session – Kingdom of Thailand