คลังเอกสาร

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 Computer-related Crime Act 2017

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 ไทย-อังกฤษ Thailand’s Computer-related Crime Act 2017 bilingual

พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 Computer-related Crime Act B.E. 2550 (2007) as amended by the Computer-related Crime Act (No. 2) B.E. 2560 (2017) [unofficial English translation]

เปรียบเทียบร่าง 26 เม.ย., 17 ส.ค. และ 30 ก.ย. 2559 ในมาตราสำคัญ

เปรียบเทียบร่าง 26 เม.ย., 17 ส.ค. และ 30 ก.ย. 2559 ในมาตราสำคัญ / Comparison of 26 Apr, 17 Aug, and 30 Sep Drafts เปรียบเทียบพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550 กับร่าง 26 เม.ย. 2559, 17 ส.ค. 2559, 30 ก.ย. 2559 ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ (26 เม.ย. 59) [ไทย-อังกฤษ] ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ (30 ก.ย. 59) ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ + ร่างประกาศกระทรวงดิจิทัลประกอบพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ (18 พ.ย. 59)

การควบคุมเน็ตหลังรปห. 2557 [ผัง] / Internet Control after 2014 Coup [Diagram]

ความเปลี่ยนแปลงในการควบคุมสื่อ(ออนไลน์) หลังรัฐประหาร 2559 -- ในไฟล์ PDF สามารถคลิกที่ชื่อคำสั่ง/ประกาศเพื่ออ่านรายละเอียดได้
12 ข้อเสนอแก้ไขร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (28 มิ.ย. 2559)

พลเมืองเน็ตเสนอ 12 ข้อ แก้ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

2 comments

ม.14 ยังเอาผิดกับเนื้อหาได้ ม.15 เรื่อง Notice ยังไม่มีรายละเอียด ม.16/2 ภาระใหม่ของผู้ให้บริการและผู้ใช้ ม.20(4) ไม่ผิดก็สั่งปิดได้ -- คลิกอ่านเต็มๆ
ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ (26 เม.ย. 59) ไทย-อังกฤษ Thailand’s Cybercrime Act amendment (26 Apr 2016) bilingual

ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ (26 เม.ย. 59) ไทย-อังกฤษ Thailand’s Cybercrime Act amendment draft (26 Apr 2016) bilingual

1 comment

ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - ต้นฉบับภาษาไทย (ร่างฉบับวันที่ 26 เม.ย. 2559) และฉบับแปลภาษาอังกฤษ / Computer-related Crime Act (No ..) B.E. .... Draft - Original Thai version (26 April 2016) and its English translation

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550 ไทย-อังกฤษ Thailand’s 2007 Cybercrime Act in Thai and English

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ต้นฉบับภาษาไทยและฉบับแปลภาษาอังกฤษอย่างไม่เป็นทางการ (แก้ไขและปรับปรุงจากฉบับแปลโดยคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ) Computer-related Crime Act B.E 2550 (2007) Original Thai version and its unofficial English translation (based on this translation by Campaign for Popular Media Reform, with some edits and corrections) ภาษาไทย (Thai) ภาษาอังกฤษ (English) หมายเหุต (Notes) มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550” Section 1. This Act shall be called the “Computer-related...

ความท้าทายในการค้นหา ได้รับ และรับรู้ข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต

Report of the Special Rapporteur to the Human Rights Council on key trends and challenges to the right of all individuals to seek, receive and impart information and ideas of all kinds through the Internet (A/HRC/17/27) แนวโน้มสำคัญและความท้าทายที่จะมีสิทธิของบุคคลทุกคนที่จะค้นหา ได้รับ และรับรู้ข้อมูลและความคิดทุกชนิดผ่านอินเทอร์เน็ต — รายงานของผู้รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก แฟรงค์ ลารัว (A/HRC/17/27) (16 พ.ค. 2554) http://ap.ohchr.org/documents/dpage_e.aspx?si=A/HRC/17/27

โลกใหม่ใครกำกับ? กรณีศึกษาเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

หนังสือที่นำกรณีศึกษาเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตมาวิเคราะห์และชวนให้ตั้งคำถาม อาทิ กรณี Netflix กับ Verizon และความเป็นกลางของเครือข่าย, iCloud กับภาพหลุดดารา, นโยบายชื่อจริงของ Facebook, คดีสุรภักดิ์ ว่าด้วยการพิสูจน์พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์, จีรนุช ตัวกลางคดีมาตรา 112, การกำกับดูแลสกุลเงินบิทคอยน์, คดีปิดเว็บประชาไทกับการฟ้องกลับเจ้าหน้าที่รัฐ และจริยศาสตร์ว่าด้วยเพื่อนในโลกออนไลน์ เป็นต้น

การตรวจพิสูจน์หลักฐานดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย

หนังสือแนะนำการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล (digital evidence) ด้วยภาษาธรรมดา มีคำอธิบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวคิดทางเทคนิค-ความแตกต่างของพยานหลักฐานดิจิทัลประเภทต่างๆ เขียนโดย Larry E. Daniel และ Lars E. Daniel, แปลโดย สุนีย์ สกาวรัตน์

สถานการณ์ด้านสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว – ที่ประชุมหารือ UPR ประเทศไทยรอบที่ 2

สถานการณ์ด้านสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว ซึ่งครอบคลุมประเด็นกฎหมาย โครงสร้างองค์กรอิสระ และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย ข้อมูลในคำแถลงนี้นำมาจากรายงานที่จัดทำโดย เครือข่ายพลเมืองเน็ต ไพรเวซีอินเทอร์เนชันแนล และมูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์