คลังเอกสาร

คำกล่าวเปิดงานสัมมนา “เวทีวิชาการสาธารณะเพื่อพัฒนางานวิจัย ‘ออนไลน์ศึกษา’”

คำกล่าวเปิดงานสัมมนา เวทีวิชาการสาธารณะเพื่อพัฒนาคำถามวิจัย “ออนไลน์ศึกษา” 29 พฤศจิกายน 2553 ณ โครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ชั้น 4 ตึกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ จัดโดย โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ เครือข่ายพลเมืองเน็ต โดยการสนับสนุนของ มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ ซึ่งเวทีวิชาการนี้เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลเน็ตติเซ่นมาราธอน 2553

Statement of Thai Netizen Network Requesting Representatives to Consider Urgent Amendment to Article 15 of the Computer-Related Crime Act 2007

Thai Netizen Network deem Article 15 of this law a threat to freedom of the people and propose for an amendment of the Compute Crime Act 2007.

แถลงการณ์ขอเรียกร้องให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พิจารณาแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 15 อย่างเร่งด่วน

เครือข่ายพลเมืองเน็ตเห็นว่า มาตรา 15 ของกฎหมายฉบับนี้ เป็นบทบัญญัติที่คุกคามสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนอย่างยิ่ง จึงเสนอให้พิจารณาแก้ไข พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

คู่มือสื่อพลเมือง [เครือข่ายพลเมืองเน็ต, 2553]

แต่พลังของสื่อพลเมืองก็เหมือนกับพลังทุกชนิด ตรงที่มีทั้งด้านบวกและด้านลบ เครือข่ายพลเมืองเน็ตจัดทำ “คู่มือสื่อพลเมือง” เล่มนี้ด้วยความหวังว่าจะเป็นส่วนเล็ก ๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดสื่อพลเมืองรุ่นใหม่ และจุดประกายให้พลังของสื่อพลเมืองในไทยเป็นไปในด้านบวกมากกว่าด้านลบ

รายงานวิจัยเรื่อง การกำกับดูแลเนื้อหาอินเทอร์เน็ต [พิรงรอง รามสูต รณะนันทน์ และ นิธิมา คณานิธินันท์, 2547]

โดย พิรงรอง รามสูต รณะนันทน์ และ นิธิมา คณานิธินันท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตีพิมพ์เมื่อ มีนาคม 2547 ในโครงการ "การปฏิรูประบบสื่อ: การกํากับดูแลเนื้อหาโดยรัฐ การกํากับดูแลตนเอง และสื่อภาคประชาชน" สนับสนุนการวิจัยโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

อย่าโทษคนนำสาร: ภาระรับผิดทางกฎหมายของสื่อตัวกลางและการคุ้มครองหลักการของอินเทอร์เน็ต

บทความแปลจาก Don’t Blame the Messenger: Intermediary liability and protecting Internet platforms โดย ซินเธีย หว่อง (Cynthia Wong), 29 กรกฎาคม 2553

Analysis of Computer Crime Act of Thailand [Sinfah Tunsarawuth and Toby Mendel, 2010]

published May 2010 by Sinfah Tunsarawuth, the lead author of this report, is an independent media lawyer based in Bangkok, Thailand. and Toby Mendel, who provided international materials for and edited the report, is the Executive Director of the Centre for Law and Democracy, a Canadian-based international human rights NGO focusing on foundational rights for democracy

บทวิเคราะห์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ [ศิลป์ฟ้า ตันศราวุธ และ โทบี้ เมนเดล, 2553]

พฤษภาคม พ.ศ. 2553 โดย ศิลป์ฟ้า ตันศราวุธ นักกฎหมายอิสระด้านสื่อที่ประจำาอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และโทบี้ เมนเดล ผู้เพิ่มเติมเนื้อหาในระดับนานาชาติและร่วมปรับแก้รายงาน เป็นผู้อำานวยการบริหารที่ศูนย์กฎหมายและประชาธิปไตย (Centre for Law and Democracy) องค์การสาธารณประโยชน์นานาชาติด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศแคนาดาที่มุ่งเน้นในเรื่องสิทธิพื้นฐานสำหรับประชาธิปไตย

แถลงการณ์ประชาสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2010 ว่าด้วยอินเทอร์เน็ตภิบาล (2010 Southeast Asia Civil Society Statement on Internet Governance)

ระหว่างวันที่ 15-16 มิ.ย. 2553 ภาคประชาสังคมจากอาเซียนจำนวนหนึ่งได้เข้าร่วมการประชุมการกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต เวทีภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก หรือ Asia-Pacific Regional Internet Governance Forum (APrIGF) ที่ฮ่องกง หลังการประชุม ภาคประชาสังคมจากองค์กรต่างๆ ในอาเซียน แปดประเทศ จากมากกว่าสิบองค์กร ได้หารือร่วมกัน และออกแถลงการณ์ฉบับนี้ เพื่อนำเสนอต่อภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศของตน และระดับนานาชาติ โดยเฉพาะที่ประชุมพหุภาคีของ IGF ที่กรุงเจนีวา วันที่ 28-29 มิ.ย. 2553 และเวทีระดับโลกของการประชุมการกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต หรือ Internet Governance Forum (IGF) ระหว่างวันที่ 14-17 ก.ย. 2553 ที่กรุงวิลนีอุส ประเทศลิทัวเนีย

ภาระรับผิดทางกฎหมายของตัวกลาง: ปกป้องพื้นที่อินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมการแสดงออกและสร้างสรรค์นวัตกรรม

แปลจาก Intermediary Liability: Protecting Internet Platforms for Expression and Innovation, Center for Democracy & Technology, เมษายน 2553 โดย วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ สฤณี อาชวานันทกุล