คลังเอกสาร

สรุปเวทีวิพากษ์ผลกระทบจากกฎหมายและการเมืองต่อสิทธิมนุษยชนพลเมืองเน็ต (3) [จอน อึ๊งภากรณ์]

เวทีวิพากษ์ผลกระทบจากกฎหมายและการเมืองต่อสิทธิมนุษยชนพลเมืองเน็ต วันที่ 29 เมษายน 2552 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยสังคม ชั้น 4 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

สรุปเวทีวิพากษ์ผลกระทบจากกฎหมายและการเมืองต่อสิทธิมนุษยชนพลเมืองเน็ต (2) [เมธา มาสขาว]

เวทีวิพากษ์ผลกระทบจากกฎหมายและการเมืองต่อสิทธิมนุษยชนพลเมืองเน็ต วันที่ 29 เมษายน 2552 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยสังคม ชั้น 4 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

สรุปเวทีวิพากษ์ผลกระทบจากกฎหมายและการเมืองต่อสิทธิมนุษยชนพลเมืองเน็ต (1) [สุภิญญา กลางณรงค์]

เวทีวิพากษ์ผลกระทบจากกฎหมายและการเมืองต่อสิทธิมนุษยชนพลเมืองเน็ต วันที่ 29 เมษายน 2552 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยสังคม ชั้น 4 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

เว็บมาสเตอร์กับการกระทำผิดบนเน็ต : ความซับซ้อน และ บทเรียนจากกรณีคลิปหลุด “เฉินกวนซี” [สฤณี อาชวานันทกุล และ กอปรทิพย์ อัจฉริยโสภณ, 2552]

ข้อกล่าวหาที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมบนอินเทอร์เน็ต ที่รัฐไทยยังไม่เข้าใจธรรมชาติที่เป็นจริง ถ้าหากเจ้าหน้าที่ปฏิบัติต่อผู้ดูแลหรือเจ้าของเว็บอย่าง จริงจัง จริงใจ และตรงประเด็น นอกจากจะช่วยให้สามารถจับกุมผู้กระทำผิดตัวจริงมาลงโทษได้ง่ายขึ้นแล้ว ยังจะช่วยทำให้ผู้มีเจตนาร้ายมีแรงจูงใจน้อยลงที่จะกระทำผิดบนอินเทอร์เน็ต แต่ขณะเดียวกันก็สามารถรักษาบรรยากาศการถกเถียงอภิปรายในอินเทอร์เน็ตเอาไว้ได้ ในฐานะพื้นที่ประชาธิปไตยที่สนับสนุนให้ทุกคนเข้ามาแลกเปลี่ยนข้อมูลและ ความเห็นกันอย่างเสรี

กฎหลักของมารยาทเน็ต – เอกสารประกอบการเสวนา “กติกาพลเมืองชาวเน็ต” [สฤณี อาชวานันทกุล]

แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล เครือข่ายพลเมืองเน็ต เพื่อประกอบการเสวนากล้วยน้ำไทวิชาการ (ICT Social Network) ตอนที่ 3 "กติกาพลเมืองชาวเน็ต" จากแนวปฏิบัติสู่จารีตประเพณีจนถึงกฎหมายลายลักษณ์อักษร เมื่อ 13 พฤษภาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท

Thai government moves to suppress media [Sinfah Tunsarawuth]

This is an article written by Sinfah Tunsarawuth, a member of Thai Netizen Network's mailing list.

สรุปการแถลงข่าวแสดงจุดยืนเรื่อง นโยบายรัฐในการจับกุมปราบปรามอินเทอร์เน็ตและวิทยุชุมชน

สรุปการแถลงข่าว แสดงจุดยืนเรื่อง นโยบายรัฐในการจับกุม ปราบปรามอินเทอร์เน็ตและวิทยุชุมชน โดย เครือข่ายพลเมืองเน็ต คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส) เครือข่ายเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์ ประเทศไทย (FACT) ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม 10 มกราคม 2552

ข้อเสนอต่อรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายการกำกับดูแลสื่ออินเทอร์เน็ตและวิทยุชุมชน

วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2552 เวลา 9.00 น.เครือข่ายพลเมืองเน็ต คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ เครือข่ายเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์ประเทศไทย นำโดยนายกานต์ ยืนยง นายไกลก้อง ไวทยากร นางสาวจีรนุช เปรมชัยพร นางสาวสฤณี อาชวานันทกุล นายสุเทพ วิไลเลิศ นายสุนิตย์ เชรษฐา นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล เข้ายื่นหนังสือต่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีซึ่งได้มารับหนังสือและเจรจาเป็นเวลา 5 นาทีโดยรับเรื่องและข้อเสนอคัดค้านการจัดตั้งวอร์รูม หรือการประกาศสงครามกับสื่ออินเทอร์เน็ตและวิทยุชุมชน หลังจากที่ได้เข้าพบ พบว่ารัฐบาลไม่ได้มีแนวทางการดำเนินการดังกล่าว ซึ่งอาจจะต้องตั้งคณะทำงานร่วมต่อไป

แถลงการณ์เรื่องการคุกคามสิทธิเสรีภาพสื่อออนไลน์

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต ร่วมกับคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส.) และเครือข่ายเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์ประเทศไทย (FACT) ลงวันที่ 8 มีนาคม 2552