Tag: intermediary liability

แจ้งเตือนและแจ้งเตือน

รู้จักหลักการ “Notice and Notice” สำหรับการกำกับเนื้อหาออนไลน์

2016.05.19

เมื่อพูดถึงข้อยกเว้นความรับผิดของสื่อตัวกลาง เรามักพูดถึงกลไก Notice and Takedown แต่โลกนี้ยังมีกลไกอื่น เช่น Notice and Notice ที่เหมาะสมกว่าสำหรับเว็บยุค user-generated content เนื่องจากเป็นกลไกที่คำนึงถึงทั้งผู้ที่อาจถูกละเมิดสิทธิ์ สื่อตัวกลาง และผู้ใช้ที่เป็นผู้สร้างเนื้อหา

Digital Weekly: 22-29 ธ.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.12.29

ศาลฎีกาพิพากษายืน ผอ.ประชาไท ผิด พ.ร.บ.คอม กรณีลบข้อความหมิ่นในเว็บบอร์ดช้า/ ครม. อนุมัติงบโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล 3.75 พันล้านบาท-อนุมัติแผนยุทธศาสตร์ระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์/ สปท.เล็งเสนอใช้ ม.44 ฟันสื่อออนไลน์กระทบมั่นคง ปี 59 เดินหน้าคุย กูเกิล-ไลน์-เฟซบุ๊ก/ จับตัวผู้ต้องหาสร้างเฟซบุ๊กปลอมโพสตข้อความหมิ่นฯ หลังทะเลาะเพื่อน/ ทีโอทีเตรียมผันมาเป็นผู้ให้เช่าเสาโทรคมนาคม อานิสงส์ประมูลคลื่น 900 ฯลฯ

หวั่น ร่างพ.ร.บ.คอมฉบับใหม่ เปิดช่องให้เลี่ยงมาตรา 20 สั่งปิดเว็บไซต์

2015.10.19

สาวตรี สุขศรี นักวิชาการนิติศาสตร์ระบุ มาตรา 14, 15, 20 ในร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ยังมีปัญหา ห่วงปัญหาใหม่ "เลี่ยงมาตรา 20" ไปใช้ประกาศ รมต.ปิดเว็บไซต์แทน

Digital Weekly: 4-15 ต.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์ (ครึ่ง)

2015.10.16

เครือข่ายพลเมืองเน็ตชี้ TPP กระทบความเป็นส่วนตัว สร้างภาระให้ตัวกลาง/ผู้ก่อตั้งเพจ "องค์กรเก็บขยะแผ่นดิน" เตรียมฟ้องเฟซบุ๊ก ยูทูบ ฐานปล่อยให้มีการหมิ่นประมาทตน/ ผบ.ตร.สั่งปอท.ตรวจสอบคนโจมตีเว็บ เตรียมดำเนินคดีตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์/ บก.ปอศ.จับซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย 9 เดือนจับดำเนินคดี 166 คดี/ เครือข่ายเยาวชนป้องกันนักดื่มหน้าใหม่ยื่นหนังสือต่อ รมว.สาธารณสุข เหตุศิลปินโพสต์ภาพถ่ายคู่เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ด้านรองผบ.ตร.บอกผิดมาตรา 26 ฯลฯ

เครือข่ายพลเมืองเน็ต: กดไลก์ ไม่ใช่อาชญากรรม กระทรวงไอซีทีต้องทบทวนมาตรการจัดการ “เฟซบุ๊กหมิ่น” และ ข้อแนะนำต่อพลเมืองเน็ตเมื่อเจอหน้าเว็บที่ไม่ถูกใจ

2011.11.30

กดไลค์ ไม่ใช่อาชญากรรม หยุดสร้างภาระรับผิดให้ตัวกลาง รายงานการละเมิดอย่างรับผิดชอบ --- ภาครัฐ ผู้ให้บริการ และพลเมืองเน็ต ต้องร่วมกันรักษาพื้นที่เน็ตเพื่อประโยชน์สาธารณะ บนพื้นฐานของสิทธิพลเมืองและสิทธิมนุษยชน
static page request

หน้าเว็บอยู่ที่ไหน?

2011.11.16

การสอบถามกับผู้ดูแลเว็บว่าหน้าเว็บนี้อยู่ที่ไหน คงไม่ต่างกับถามแม่ค้าขายข้าวผัดกะเพราว่าส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้าวจานนี้มาจากไหน เราอาจจะพอทราบว่าไก่ต้องมาจากฟาร์มเลี้ยงไก่ ถามต่อไปอาจจะทราบว่าไก่มาจากบริษัทอะไร แต่แม่ค้าคงไม่ทราบว่าฟาร์มอยู่ที่ไหน ... ในกรณีของหน้าเว็บหนึ่ง ๆ ก็ไม่ต่างกัน
ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายอินเทอร์เน็ต แนะต้องพุ่งเป้าที่ผู้กระทำผิดโดยตรง ย้ำต้องมองอินเทอร์เน็ตตามธรรมชาติอินเทอร์เน็ต ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ องค์กรสิทธิมนุษยชนเอเชียเสนอประชาสังคมไทยควรผลักดันให้รัฐบาลไทยรับข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุงเสรีภาพการแสดงออกจากเวทีทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน

รายงาน: Intermediary and Liability “ตัวกลางกับภาระรับผิด” : พ.ร.บ.คอมฯ ฝืนธรรมชาติเน็ต?

2011.10.31

ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายอินเทอร์เน็ต แนะต้องพุ่งเป้าที่ผู้กระทำผิดโดยตรง ย้ำอินเทอร์เน็ตไม่ใช่สิ่งพิมพ์ องค์กรสิทธิมนุษยชนเอเชียเสนอประชาสังคมไทยควรผลักดันให้รัฐบาลไทยรับข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุงเสรีภาพการแสดงออกจากเวทีทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (UPR)
อินเทอร์เน็ตไม่ควรเป็นดินแดนไร้กฎหมาย ไร้การควบคุมที่ทุกคนจะทำอย่างไรก็ได้ตามใจชอบ คำถามสำคัญที่เราควรคิดกันก็ึคือ ภายใต้ความควบคุมเหล่านั้น เราต้องการทำให้เกิดอะไรขึ้นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย?

ภาระรับผิดของตัวกลาง: คำถามที่ต้องการความชัดเจน

2011.09.23

อินเทอร์เน็ตไม่ควรเป็นดินแดนไร้กฎหมาย ไร้การควบคุมที่ทุกคนจะทำอย่างไรก็ได้ตามใจชอบ คำถามสำคัญที่เราควรคิดกันก็ึคือ ภายใต้ความควบคุมเหล่านั้น เราต้องการทำให้เกิดอะไรขึ้นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย? คำถามจาก วสันต์ ลิ่วลมไพศาล ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone

ความคืบหน้ากรณีศึกษาการสืบพยาน “คดีอินเทอร์เน็ตกับภาระของตัวกลาง”

2011.02.04

สืบเนื่องจากวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ซึ่งเครือข่ายพลเมืองเน็ตได้ออกแถลงการณ์ว่าด้วยเรื่องข้อเสนอในการปรับปรุงแก้ไขการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ด้วยเหตุว่ากฎหมายฉบับนี้มีผลในการลิดรอนสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นอันเป็นหลักการพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตย ทั้งยังขัดกับคุณลักษณะของอินเทอร์เน็ตในหลายแง่มุม

Press Release: The Trial on the Case Study of Internet & Intermediary Liability in Thailand

2011.02.04

On October 17, 2010 Thai Netizen Network issued a statement calling for the amendment of Computer-related Crime Act 2007 (CCA), since before the CCA was enacted, Thai Netizen Network already began calling for an amendment to this law, as we saw that the enforcement of this law would result in depriving people’s right to freedom of expression, which is fundamental for democracy. Furthermore, this law contradicts the characteristics of the Internet in many aspects, thereby allowing abusive enforcement. However, the government has never realised and taken this issue seriously to amend this freedom-infringing law.