Tag: Computer-related Crime Act

โครงสร้างใหม่(?หน่วยงานไอซีทีแห่งชาติ

เปิดผัง 11 หน่วยงานใหม่ “ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” ของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลประยุทธ์

2015.01.07 1 comment

คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการร่างกฎหมาย 10 ฉบับ ตั้ง 11 หน่วยงานใหม่ เปลี่ยนโฉมโครงสร้างการกำหนดและกำกับนโยบายไอซีทีไทย อย่างไรก็ตามยังมีข้อเป็นห่วงเรื่องอำนาจหน้าที่และความรับผิดของหน่วยงานใหม่ รวมถึงการคุ้มครองสิทธิด้านข้อมูลข่าวสารของประชาชน
ขั้นตอนการดูแลเนื้อหาบนสื่ออินเทอร์เน็ตของ MOB

สพธอ.จับมือเครือข่ายสร้างมาตรฐานกำกับเนื้อหาเน็ต – นักวิชาการห่วง “ศาลเตี้ย”

2013.07.19

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และองค์กรเครือข่ายลงนามบันทึกความเข้าใจ ร่วมกำหนดมาตรฐานกำกับดูแลกันเองสำหรับเนื้อหาออนไลน์ สร้างกลไกร้องเรียนและนำเนื้อหาออก สมาคมอีคอมเมิร์ชตอบรับต้องมีเพื่อให้ทำธุรกิจง่าย สายด่วนคุ้มครองเด็กมองจำเป็นต้องมีวิธีติดตามการทำงาน กูเกิลเน้นต้องโปร่งใส ด้านนักสิทธิห่วงกลายเป็นเซ็นเซอร์ตัวเอง ขณะที่นักวิชาการกฎหมายชี้คำว่า "เนื้อหาไม่เหมาะสม" กว้างเกินไป ตั้งคำถามถึงกลไกตรวจสอบการใช้อำนาจ ไอซีทีเผยแก้พ.ร.บ.คอมใหม่ให้ระงับเว็บไซต้ไม่เหมาะสมได้ทันที ไม่ต้องรอกระบวนการกฎหมาย
courtesy to NathanaeIB on Flickr

สรุปภาพรวมเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ตปี 2555

2013.05.20

สรุปภาพรวมเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ตปี 2555 ทั้งคดี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ และการปิดกั้นเว็บไซต์ ส่วนหนึ่งจากรายงานประจำปีของเครือข่ายพลเมืองเน็ตปี 2555 ซึ่งจะเผยแพร่เร็วๆ นี้

[11 พ.ค.] สัมมนาระดมความเห็น ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับสพธอ. 2556

2013.05.05

เครือข่ายพลเมืองเน็ต, iLaw, และประชาไท โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ จัดสัมมนาระดมความเห็นต่อ "ร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 2556" ในวันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรม S31 ซอยสุขุมวิท 31

สฤณี อาชวานันทกุล: ข้อคิดเห็นต่อคำพิพากษาจำคุกโบรกเกอร์ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์

2013.01.11

พูดอีกอย่างคือ คำพิพากษาของศาลเท่ากับว่า การพูดว่า “ตอนนี้มีข่าวลือว่า xxx” ผิดกฎหมายเท่ากับการพูดว่า “ตอนนี้ xxx” ตราบใดที่ข่าวลือนั้นเป็นเท็จ ผู้เขียนมองว่าการตีความกฎหมายแบบนี้เป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก เนื่องจากเท่ากับว่าเราทุกคนมีภาระจะต้องไปตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนว่า ข่าวลืออะไรเป็นความจริง ข่าวลืออะไรเป็นความเท็จ ก่อนที่จะโพสต์ข้อความใดก็ตามบนอินเทอร์เน็ต จะบอกว่ามันเป็นข่าวลือก็ไม่ได้!

ศาลเลื่อนอ่านคำพิพากษาคดีตัวกลางอินเทอร์เน็ต (ผอ.ประชาไท) 30 พ.ค. Thai Court postpones verdict reading of Internet liability’s case (Prachatai director) to May 30

2012.04.30

ศาลเลื่อนการอ่านคำพิพากษาคดีผอ.ประชาไท ไป 30 พ.ค. Thai Court postponed the verdict reading of Prachatai director to May 30.
ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายอินเทอร์เน็ต แนะต้องพุ่งเป้าที่ผู้กระทำผิดโดยตรง ย้ำต้องมองอินเทอร์เน็ตตามธรรมชาติอินเทอร์เน็ต ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ องค์กรสิทธิมนุษยชนเอเชียเสนอประชาสังคมไทยควรผลักดันให้รัฐบาลไทยรับข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุงเสรีภาพการแสดงออกจากเวทีทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน

รายงาน: Intermediary and Liability “ตัวกลางกับภาระรับผิด” : พ.ร.บ.คอมฯ ฝืนธรรมชาติเน็ต?

2011.10.31

ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายอินเทอร์เน็ต แนะต้องพุ่งเป้าที่ผู้กระทำผิดโดยตรง ย้ำอินเทอร์เน็ตไม่ใช่สิ่งพิมพ์ องค์กรสิทธิมนุษยชนเอเชียเสนอประชาสังคมไทยควรผลักดันให้รัฐบาลไทยรับข้อเสนอเกี่ยวกับการปรับปรุงเสรีภาพการแสดงออกจากเวทีทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (UPR)
กรณีที่เกิดขึ้นควรเป็นบทเรียนให้ทั้งผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการ และนักพัฒนาระบบ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการปกป้องสิทธิของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งหนึ่งในนั้นคือนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้ถูกละเมิดสิทธิเองในกรณีนี้ ทุกฝ่ายควรตระหนักว่าความปลอดภัยในอินเทอร์เน็ตไม่ใช่ภาระของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเท่านั้น และกรณีดังกล่าวต้องไม่ถูกใช้เพื่อสร้างความชอบธรรมในการออกมาตรการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน

เครือข่ายพลเมืองเน็ต: แถลงการณ์ต่อกรณีการเข้าสู่บัญชีทวิตเตอร์ของนายกรัฐมนตรีโดยไม่ได้รับอนุญาต

2011.10.04

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต กรณีบัญชีทวิตเตอร์ @PouYingluck ของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ถูกเข้าถึงโดยบุคคลอื่น ในวันที่ 2 ตุลาคม 2554 และได้เผยแพร่ข้อความจำนวน 8 ข้อความอย่างต่อเนื่อง มีเนื้อหาวิพากษ์นโยบายสาธารณะ
แม้กระทั่ง twitter ตนเองยังปกป้องไว้ไม่ได้ แล้วประเทศนี้จะปกป้องได้อย่างไร? ฝากให้พี่น้องคิดดูนะครับ

ทวิตเตอร์นายกยิงลักษณ์ถูกเจาะ – เรียนรู้วิธีป้องกัน – และมาตรา 14

2011.10.02

ทวิตเตอร์ของนายกรัฐมนตรีถูกเจาะและใช้เพื่อโพสต์ข้อความวิพากษ์วิจารณ์นโยบายรัฐบาล เรื่องนี้มีความเป็นไปได้อย่างไร เราจะป้องกันตัวเองจากการถูกเจาะได้อย่างไร และข้อสังเกตเบื้องต้นในการค้นหาผู้กระทำและการแจ้งความผิด
อินเทอร์เน็ตไม่ควรเป็นดินแดนไร้กฎหมาย ไร้การควบคุมที่ทุกคนจะทำอย่างไรก็ได้ตามใจชอบ คำถามสำคัญที่เราควรคิดกันก็ึคือ ภายใต้ความควบคุมเหล่านั้น เราต้องการทำให้เกิดอะไรขึ้นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย?

ภาระรับผิดของตัวกลาง: คำถามที่ต้องการความชัดเจน

2011.09.23

อินเทอร์เน็ตไม่ควรเป็นดินแดนไร้กฎหมาย ไร้การควบคุมที่ทุกคนจะทำอย่างไรก็ได้ตามใจชอบ คำถามสำคัญที่เราควรคิดกันก็ึคือ ภายใต้ความควบคุมเหล่านั้น เราต้องการทำให้เกิดอะไรขึ้นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย? คำถามจาก วสันต์ ลิ่วลมไพศาล ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone