Category: บทความ

ระบอบเจ้าที่ดินและความปลอดภัยของอินเทอร์เน็ต

2013.07.01

การเปิดโปงโครงการดักฟังข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตหรือโครงการ “ปริซึม” (PRISM) ของสหรัฐอเมริกา (NSA) นำมาสู่การถกเถียงอย่างกว้างขวางทั่วโลก โดยเฉพาะประเด็นการละเมิดสิทธิในความเป็นส่วนตัว สิ่งที่น่าสนใจประการหนึ่งคือ ขณะที่เราฝากข้อมูลสำคัญต่างๆ ในชีวิตของเราไว้ในอินเทอร์เน็ตมากขึ้นเรื่อยๆ เราในฐานะปัจเจกชนได้รับความคุ้มครองและมีความเป็นส่วนตัวมากน้อยแค่ไหน Bruce Schneier เสนอให้มองความสัมพันธ์ระหว่างเรากับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตว่าเป็นระบอบเจ้าที่ดินยุคใหม่ การเปรียบเทียบลักษณะนี้อาจทำให้เราเห็นทางออกด้านความปลอดภัยของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากระบบเจ้าที่ดินได้

วัฒนธรรมเฟซบุ๊กไทย 2555: ปีแห่งการล้อเลียน

2013.05.31

จาก กูkult และ ศาสดา ถึง โหดสัส ษม่ค่ล์มนิ๋ญฒสก๊อย และ ตะละแม่ป๊อปคัลเจอร์ ปรากฎการณ์การล้อเลียนในสังคมออนไลน์ไทยปี 2555
courtesy to NathanaeIB on Flickr

สรุปภาพรวมเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ตปี 2555

2013.05.20

สรุปภาพรวมเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ตปี 2555 ทั้งคดี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ และการปิดกั้นเว็บไซต์ ส่วนหนึ่งจากรายงานประจำปีของเครือข่ายพลเมืองเน็ตปี 2555 ซึ่งจะเผยแพร่เร็วๆ นี้
TPP คืออะไร?

ข้อตกลงการค้า TPP คืออะไร? มาเกี่ยวอะไรกับอินเทอร์เน็ต โดจิน และคอสเพลย์?

2013.03.27

ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement : TPP) คืออะไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับเรา?
การประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลปี 2007

(สรุปสั้นๆ) การมีส่วนร่วมในการจัดทำนโยบายอินเทอร์เน็ต : กระบวนการระดับภูมิภาคและระดับสากล #tcr2012

2012.09.11

สรุปเนื้อหาจากเสวนา "การมีส่วนร่วมในการจัดทำนโยบายอินเทอร์เน็ต : กระบวนการระดับภูมิภาคและระดับสากล" ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555: “อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยบายสาธารณะ” วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555 อาคารศูนย์การเรียนรู้ สำนักงานไทยพีบีเอส ถนนวิภาวดีรังสิต

Giving up on technicality is giving away your liberty (VDO interview with SEAPA Director)

2012.09.01

A video interview with SEAPA executive director which touches on four key issues: Why Internet access is human rights?, What are the roles of governments to protect Internet rights? What about civil society?, What to do with Internet Governance Forum and International Telecommunication Union?, Why we have to understand technology behind the Internet?

นวัตกรรมนโยบายสาธารณะ : พลเมืองดิจิทัล พลวัตทางเทคโนโลยี #tcr2012

2012.08.07

เอกสารจากการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองครั้งที่ 1 ช่วงเสวนา “นวัตกรรมนโยบายสาธารณะ : พลเมืองดิจิทัล พลวัตทางเทคโนโลยี” เมื่อวันที่ 31 ก.ค. 2555
courtesy to NathanaeIB on Flickr

ผลการวิจัย ราคาของการเซ็นเซอร์ (เบื้องต้น)

2012.07.31

ผลการวิจัยราคาของการเซ็นเซอร์: มุมมองทางเศรษฐศาสตร์ (เบื้องต้น) โดย สฤณี อาชวานันทกุล เผยแพร่ครั้งแรก ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555 "อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยายสาธารณะ" วันที่ 31 กรกฎาคม 2555
โรงเรียนพ(ล)บค่ำ #3: การต่อต้านเชิงสร้างสรรค์/การต่อต้านเชิงวัฒนธรรม: เวิร์กช็อปเชิงยุทธวิธีสำหรับศิลปินและนักกิจกรรม

เคลื่อนด้วยศิลปะ เขย่าด้วยวัฒนธรรม: บันทึกจากโรงเรียนพ(ล)บค่ำ #3

2012.07.01

ความท้าทายที่เกิดขึ้นเมือนำศิลปะมาเกี่ยวข้องกับการรณรงค์ต่อต้านต่างๆ ก็คือ ศิลปะเป็นสิ่งที่เล่นกับจินตนาการ ศิลปินต้องการพื้นที่ในการสร้างสรรค์สิ่งที่ออกไปเล่นกับจินตนาการของผู้คน แต่การรณรงค์ในด้านการเมืองจำเป็นต้องมีข้อความที่ชัดเจน ว่ากำลังพูดถึงอะไร จะเปลี่ยนแปลงอะไร และจะทำอย่างไร ดังนั้นความท้าทายของการนำศิลปะมาใช้ในการรณรงค์ต่อต้านเรื่องใดๆ จึงอยู่ที่จะทำอย่างไรให้สามารถหาสมดุลระหว่าง พื้นที่ที่เปิดให้จินตนาการทำงาน กับ ความชัดเจนของข้อความที่ต้องการจะสื่อสาร นั่นหมายความว่า จำเป็นที่จะต้องเข้าใจทั้ง ธรรมชาติของศิลปะ และ ธรรมชาติของการรณรงค์

ความเห็นเชิงเทคนิคต่อคดีนายอำพล (อากง SMS)

2011.12.30

บทความโดย วสันต์ ลิ่วลมไพศาล ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone ถามถึงความเป็นไปได้ และข้อสงสัยอื่น ๆ ที่มีต่อหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ในคดีนายอำพล หรือคดี "อากง SMS"