Tag: Thailand

โครงสร้างใหม่(?หน่วยงานไอซีทีแห่งชาติ

เปิดผัง 11 หน่วยงานใหม่ “ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” ของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลประยุทธ์

2015.01.07 1 comment

คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการร่างกฎหมาย 10 ฉบับ ตั้ง 11 หน่วยงานใหม่ เปลี่ยนโฉมโครงสร้างการกำหนดและกำกับนโยบายไอซีทีไทย อย่างไรก็ตามยังมีข้อเป็นห่วงเรื่องอำนาจหน้าที่และความรับผิดของหน่วยงานใหม่ รวมถึงการคุ้มครองสิทธิด้านข้อมูลข่าวสารของประชาชน

นำเข้าซ้อน-สำเนาชั่วคราว-ขยายลิขสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญห่วง ไทยเข้าร่วม TPP อาจได้ไม่คุ้มเสีย

2014.01.21

บทความจากงานสัมมนา “ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและอนาคตของเศรษฐกิจฐานความรู้: ความหวังของประเทศไทย” (Trans-Pacific Partnership Agreement (TPP) and the future of the Knowledge Economy: Prospects for Thailand) ประเทศไทยจะได้รับรับผลกระทบจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิก TPP อย่างไร จะได้คุ้มเสียหรือไม่ รวมทั้งถอดบทเรียนจากประเทศนิวซีแลนด์หลังจากการเข้าเป็นสมาชิก TPP

สัมภาษณ์ พิสิต ศรีประสาททอง ผู้บุกเบิกครีเอทีฟคอมมอนส์ในประเทศไทย

2013.11.01

แม้ว่าสัญญาครีเอทีฟคอมมอนส์สำหรับประเทศไทยได้เปิดตัวไปตั้งแต่ปี 2552 และมีการรณรงค์ให้ความรู้เรื่องนี้ในไทยอยู่อหย่างต่อเนื่อง แต่พบว่าสัญญาครีเอทีฟคอมมอนส์ยังไม่ได้รับความสนใจและผลักดันให้เป็นประเด็นสาธารณะสักเท่าไร เครือข่ายพลเมืองเน็ต สัมภาษณ์ พิสิต ศรีประสาททองหนึ่งในอาสาสมัครผู้บุกเบิก CC ในไทย
Privacy

[รายงาน] คน อินเทอร์เน็ต และความเป็นส่วนตัว: สำรวจสถานการณ์การละเมิดความเป็นส่วนตัวออนไลน์ในสังคมไทยช่วงครึ่งปีแรก พ.ศ. 2556

2013.08.21

รายงานความก้าวหน้าการวิจัยโครงการความเป็นส่วนตัวออนไลน์ / ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สิงหาคม 2556

วัฒนธรรมเฟซบุ๊กไทย 2555: ปีแห่งการล้อเลียน

2013.05.31

จาก กูkult และ ศาสดา ถึง โหดสัส ษม่ค่ล์มนิ๋ญฒสก๊อย และ ตะละแม่ป๊อปคัลเจอร์ ปรากฎการณ์การล้อเลียนในสังคมออนไลน์ไทยปี 2555
Google Transparency Report - Thailand - January to June 2011

กูเกิลเปิดเผยข้อมูลรอบใหม่: กระทรวงไอซีทีติดต่อให้บล็อคยูทูบเพิ่มเติมอีก 225 ชิ้น ในครึ่งแรกของ 2554

2011.10.27

ข้อมูลจาก Google Transparency Report เปิดเผยว่า กระทรวงไอซีทีของไทย ติดต่อกูเกิลให้บล็อควิดีโอในยูทูบอีก 225 ชิ้น ในครึ่งแรกของปี 2554

แนะนำหน่วยงานใหม่: สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (สรอ.)

2011.07.13

เมื่อต้นปีที่ผ่านมา รัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรแห่งใหม่ขึ้นมาเพื่อดูแลเรื่องรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะเฉพาะ ซึ้่งแน่นอนว่าจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิการเข้าถึงบริการของรัฐ และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของรัฐในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ วันนี้เลยจะขอแนะนำหน่วยงานดังกล่าว ซึ่งก็คือ “สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิสก์”

Internet Rights are Human Rights: Reflections from Thailand

2011.06.18

Reflections to the side-event, “Internet Rights are Human Rights,” co-hosted by Association for Progressive Communications and Swedish Ministry of Foreign Affairs at the Human Rights Council’s 17th session. Friday June 3rd, 13:00-15:00, room XXV, Palais des Nations, Geneva.

กลไกกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต และปัญหาในไทย (2): ค่านิยมในสังคมสองขั้ว

2011.04.29

ตอนที่ 3 ของคอลัมน์ "ความจริงจากโลกเสมือน" โดย สฤณี อาชวานันทกุล วันนี้จะหันมามองกลไก “ค่านิยม” บ้าง ว่ามันทำงานอย่างไร ค่านิยมออฟไลน์ส่งผลกระทบต่อสังคมออนไลน์อย่างไร สังคมออนไลน์มี “ค่านิยมเฉพาะ” อะไรบ้างหรือไม่

การหาเสียงเลือกตั้งด้วยอินเตอร์เน็ต: กรณีศึกษาโอบามา และการเลือกตั้งผู้ว่า กทม.

2009.01.29

โดย อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ : Siam Intelligence Unit ข้อความแสดงที่อยู่ของเว็บไซต์ (URL) บนป้ายหาเสียงของผู้สมัครชิงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครดูจะไม่ใช่ เรื่องแปลกใหม่อีกต่อไป การนำเอาเทคโนโลยีบนอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยหาเสียงนั้นถูกใช้มาเป็นระยะเวลา นานพอสมควรแล้ว และในยุคสมัยที่ บารัก โอบามา ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐคนปัจจุบัน ใช้แคมเปญออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพจนกลายเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เขาชนะการ เลือกตั้ง เราก็อาจมองได้ว่าการมีแค่เว็บไซต์เพียงอย่างเดียว อาจเป็นเรื่องล้าสมัยไปเสียแล้ว