Tag: internet governance

ความเป็นส่วนตัว: เรื่องร้อนในเวทีอินเทอร์เน็ตภิบาลครั้งที่ 8 #IGF2013

2013.10.28

สรุปประเด็นถกเถียงในประเด็นความเป็นส่วนตัว จากที่ประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลครั้งที่ 8 ทั่วโลกตื่นตัวเรื่องความเป็นส่วนตัวและการสอดส่องการสื่อสาร เยาวชนห่วงการควบคุมข้อมูลส่วนตัวบนสื่อสังคม ภาคประชาสังคมเรียกร้องมาตรการป้องกันการละเมิดสิทธิ ในขณะที่รัฐบาลหลายประเทศแสดงความไม่พอใจอย่างชัดเจนต่อกรณีโครงการสอดแนมของสหรัฐอเมริกา โดยบราซิลและเยอรมนีเป็นหัวขบวนในการเคลื่อนไหวเรื่องนี้สู่เวทีระหว่างประเทศ
แผนที่แสดงปริมาณการใช้เทคโนโลยี DPI เพื่อตรวจข้อมูลในเครือข่าย

ผลวิจัยระบุ ISP ไทย ส่องข้อมูลเน็ตสูงอันดับต้นของโลก

2012.11.23

คณะนักวิจัยนานาชาติพบการตรวจข้อมูลในเครือข่ายโดยผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตของไทย 3 ราย คือทรู ทีโอที และสามบีบี ตั้งแต่ปี 2552, 2553, 2554 โดยเมื่อถ่วงน้ำหนักทั้งประเทศแล้ว ประเทศไทยมีอัตราการตรวจข้อมูลในระดับสูง หรือ "ทำกันโดยทั่วไป" (pervasive) ติดต่อกันทุกปี และสูงที่สุดในปี 2553 หนึ่งในคณะวิจัยระบุว่าส่วนใหญ่แล้วการตรวจดังกล่าวทำด้วยเหตุผลทางธุรกิจเพื่อจัดการปริมาณจราจร แต่เทคโนโลยีเดียวกันสามารถใช้เพื่อเฝ้าระวังทางการเมืองได้

[6-9 พ.ย.] ถ่ายทอดสด+เสวนา เวทีอินเทอร์เน็ตภิบาลโลก #IGF12 @ ดิจิทัลเกตเวย์

2012.11.02

พูดคุยและร่วมเวทีนโยบายอินเทอร์เน็ตของโดยสหประชาชาติ ที่อาเซอร์ไบจาน จากกรุงเทพ // 6 พ.ย. การศึกษาและการพัฒนา / 7 พ.ย. สิทธิมนุษยชนและนิติรัฐออนไลน์ / 8 พ.ย. เสรีภาพและความเกลียดชัง / 9 พ.ย. ทบทวนทิศทางการกำกับดูแลเน็ต
ธง ITU

องค์กรประชาสังคมทั่วโลกค้านข้อเสนอให้ ITU ดูแลเน็ต

2012.10.01

เพื่อสนับสนุนและคุ้มครองความเปิดกว้างของอินเทอร์เน็ตสากลและการใช้สิทธิมนุษยชนออนไลน์ พวกเราเขียนจดหมายฉบับนี้เรียกร้องบรรดารัฐสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) และตัวแทนของรัฐเหล่านั้นในการประชุมระดับโลกว่าด้วยการโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (WCIT) ให้ระงับการขยายขอบเขตของสนธิสัญญาข้อบังคับโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITRs) ไปสู่อินเทอร์เน็ต
การประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลปี 2007

(สรุปสั้นๆ) การมีส่วนร่วมในการจัดทำนโยบายอินเทอร์เน็ต : กระบวนการระดับภูมิภาคและระดับสากล #tcr2012

2012.09.11

สรุปเนื้อหาจากเสวนา "การมีส่วนร่วมในการจัดทำนโยบายอินเทอร์เน็ต : กระบวนการระดับภูมิภาคและระดับสากล" ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555: “อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยบายสาธารณะ” วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555 อาคารศูนย์การเรียนรู้ สำนักงานไทยพีบีเอส ถนนวิภาวดีรังสิต
ใจความหลักในแถลงการณ์ เรียกร้องต่อรัฐบาลประชาธิปไตยทั่วโลกให้สั่งห้ามมิให้ส่งออกเทคโนโลยีที่นำไปใช้ปราบปรามพลเมือง โดยขอให้รัฐบาลออกกฎหมายที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนให้บริษัทต่าง ๆ ในประเทศของตนสามารถปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณขององค์กรตนที่จะไม่ทำลายพลเมืองประเทศอื่น ๆ และคุ้มครองให้เกิดสนามการแข่งขันที่เท่าเทียม

นักเคลื่อนไหวเน็ตสากล ร้องทั่วโลก หยุดส่งออกเทคโนโลยีที่ใช้ปราบปรามประชาชน

2011.10.25

ในการประชุมระดับโลกว่าด้วยธรรมาภิบาลอินเทอร์เน็ต ณ สหประชาชาติ ประเทศเคนยา กลุ่มตัวแทนจากภาคประชาสังคม เรียกร้องต่อรัฐบาลประชาธิปไตยทั่วโลกให้สั่งห้ามมิให้ส่งออกเทคโนโลยีที่นำไปใช้ปราบปรามพลเมือง ให้ออกกฎหมายเพื่อสนับสนุนให้บริษัทต่าง ๆ ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณที่จะไม่ทำลายพลเมืองประเทศอื่น ๆ
อินเทอร์เน็ตไม่ควรเป็นดินแดนไร้กฎหมาย ไร้การควบคุมที่ทุกคนจะทำอย่างไรก็ได้ตามใจชอบ คำถามสำคัญที่เราควรคิดกันก็ึคือ ภายใต้ความควบคุมเหล่านั้น เราต้องการทำให้เกิดอะไรขึ้นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย?

ภาระรับผิดของตัวกลาง: คำถามที่ต้องการความชัดเจน

2011.09.23

อินเทอร์เน็ตไม่ควรเป็นดินแดนไร้กฎหมาย ไร้การควบคุมที่ทุกคนจะทำอย่างไรก็ได้ตามใจชอบ คำถามสำคัญที่เราควรคิดกันก็ึคือ ภายใต้ความควบคุมเหล่านั้น เราต้องการทำให้เกิดอะไรขึ้นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย? คำถามจาก วสันต์ ลิ่วลมไพศาล ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone

ปลุกหน้าที่พลเมือง สอดส่องภาครัฐปิดกั้นเว็บให้โปร่งใส เปิดเผย ตรวจสอบได้

2010.11.19

ดร.พิรงรอง ฉะกรอบความคิดในการกำกับดูแลการใช้อินเทอร์เน็ตในบ้านเรา ทั้งเก่า-ล้าสมัย ย้ำต้องทำความเข้าใจ สื่ออินเทอร์เน็ตไม่ใช่ นสพ. จึงมีการกระจาย มีความเป็นพลวัตรสูง ไม่สามารถจะปิดได้

เครือข่ายพลเมืองเน็ตท้วงนโยบายวอร์รูมไอซีที

2009.01.29

สมาชิกเครือข่ายพลเมืองเน็ต ท้วงนโยบายวอร์รูมไอซีที เรียกร้องรัฐเปิดเวทีให้ทุกฝ่ายร่วมพูดคุย หาทางออก แทนการประกาศศึก กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์ : สฤณี อาชวานันทกุล นักเขียนอิสระ และบล็อกเกอร์ (www.fringer.org) สมาชิกเครือข่ายพลเมืองเน็ต ตั้งคำถามท้วงติงถึงมาตรการล่าสุดของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ว่า แทนที่ภาครัฐจะมุ่งใช้มาตรการที่ลิดรอนเสรีภาพแบบขาว-ดำ โดยไม่เคารพในวิจารณญาณของประชาชนและในทางที่ไม่โปร่งใส รัฐควรหันไปเน้นเรื่องการสร้างบรรทัดฐาน ความชัดเจน และความโปร่งใสในการบังคับใช้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ เช่น ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายเพื่อตกลงกันว่า นิยามของคำว่า "หมิ่นฯ" ควรอยู่ที่ใด เว็บที่เข้าข่าย "เว็บหมิ่นฯ" มีลักษณะอย่างไร วิธีปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ควรเป็นเช่นไรในทางที่จะรับประกันได้ว่า สิทธิส่วนบุคคลของบุคคลอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องจะไม่ถูกละเมิด