Category: บทความ

สะสม แบ่งแยก เลือกปฏิบัติ: การตลาดด้วยข้อมูลส่วนตัว

2014.01.22

การใช้ข้อมูลเพื่อการตลาดทำให้การจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวของคนทั่วไปเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ มีการซื้อขายข้อมูลส่วนตัวซึ่งเก็บรวบรวมจากชีวิตประจำวันของเราทั้งออนไลน์และออฟไลน์โดยละเอียด การตลาดด้วยข้อมูลกระจายไปทุกวงการ ลูกค้าของบริษัทนายหน้าค้าข้อมูลมีตั้งแต่ ห้างสรรพสินค้า ธนาคาร บริษัทโทรคมนาคม ไปจนถึงผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และหน่วยงานรัฐ ข้อมูลส่วนตัวที่ถูกเก็บสะสมทีละน้อยในตลาดค้าข้อมูลยังถูกใช้เพื่อแบ่งแยกและเลือกปฏิบัติอีกด้วย

นำเข้าซ้อน-สำเนาชั่วคราว-ขยายลิขสิทธิ์ ผู้เชี่ยวชาญห่วง ไทยเข้าร่วม TPP อาจได้ไม่คุ้มเสีย

2014.01.21

บทความจากงานสัมมนา “ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิกและอนาคตของเศรษฐกิจฐานความรู้: ความหวังของประเทศไทย” (Trans-Pacific Partnership Agreement (TPP) and the future of the Knowledge Economy: Prospects for Thailand) ประเทศไทยจะได้รับรับผลกระทบจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิก TPP อย่างไร จะได้คุ้มเสียหรือไม่ รวมทั้งถอดบทเรียนจากประเทศนิวซีแลนด์หลังจากการเข้าเป็นสมาชิก TPP

สัมภาษณ์ พิสิต ศรีประสาททอง ผู้บุกเบิกครีเอทีฟคอมมอนส์ในประเทศไทย

2013.11.01

แม้ว่าสัญญาครีเอทีฟคอมมอนส์สำหรับประเทศไทยได้เปิดตัวไปตั้งแต่ปี 2552 และมีการรณรงค์ให้ความรู้เรื่องนี้ในไทยอยู่อหย่างต่อเนื่อง แต่พบว่าสัญญาครีเอทีฟคอมมอนส์ยังไม่ได้รับความสนใจและผลักดันให้เป็นประเด็นสาธารณะสักเท่าไร เครือข่ายพลเมืองเน็ต สัมภาษณ์ พิสิต ศรีประสาททองหนึ่งในอาสาสมัครผู้บุกเบิก CC ในไทย

ความเป็นส่วนตัว: เรื่องร้อนในเวทีอินเทอร์เน็ตภิบาลครั้งที่ 8 #IGF2013

2013.10.28

สรุปประเด็นถกเถียงในประเด็นความเป็นส่วนตัว จากที่ประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลครั้งที่ 8 ทั่วโลกตื่นตัวเรื่องความเป็นส่วนตัวและการสอดส่องการสื่อสาร เยาวชนห่วงการควบคุมข้อมูลส่วนตัวบนสื่อสังคม ภาคประชาสังคมเรียกร้องมาตรการป้องกันการละเมิดสิทธิ ในขณะที่รัฐบาลหลายประเทศแสดงความไม่พอใจอย่างชัดเจนต่อกรณีโครงการสอดแนมของสหรัฐอเมริกา โดยบราซิลและเยอรมนีเป็นหัวขบวนในการเคลื่อนไหวเรื่องนี้สู่เวทีระหว่างประเทศ

ทำไมต้องกลัวถูกดักฟัง แม้คุณจะไม่มีอะไรต้องซ่อน?

2013.09.09

"ถ้าคุณไม่มีอะไรต้องซ่อน งั้นหมายความว่าคุณจะให้ผมถ่ายรูปคุณเปลือย และผมจะมีสิทธิเต็มที่ในรูปภาพนั้น ผมจะโชว์รูปให้เพื่อนบ้านของคุณดูได้ไหม..." เป็นคำตอบจากผู้อ่านบล็อกของ Daniel Solove เมื่อเขาถามว่าคิดอย่างไรกับข้อถกเถียงเรื่อง "ไม่มีอะไรต้องซ่อน" (Nothing To Hide) บทความนี้ชวนให้ตั้งคำถามกับการตอบโต้ที่ว่า "ถ้าไม่ได้ทำอะไรผิด ก็ไม่เห็นต้องกลัวอะไร" แปล-ตัดบางส่วน-เรียบเรียง จากบทความชื่อ Why Privacy Matters Even if You Have 'Nothing to Hide' โดย Daniel J. Solove

ห้างสรรพสินค้ารู้ความลับของคุณได้อย่างไร?

2013.09.04

ข้อเขียนนี้เรียบเรียงจากบทความ How Companies Learn Your Secrets โดย Charles Duhigg
Privacy

[รายงาน] คน อินเทอร์เน็ต และความเป็นส่วนตัว: สำรวจสถานการณ์การละเมิดความเป็นส่วนตัวออนไลน์ในสังคมไทยช่วงครึ่งปีแรก พ.ศ. 2556

2013.08.21

รายงานความก้าวหน้าการวิจัยโครงการความเป็นส่วนตัวออนไลน์ / ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สิงหาคม 2556

มองความสัมพันธ์ทางการผลิตข่าวบันเทิง ผ่านวิวัฒนาการเทคโนโลยี (ตอนจบ)

2013.08.07

ตอนจบของบทความโดย พิเชฐ ยิ่งเกียรติคุณ มองความเปลี่ยนแปลงทางความสัมพันธ์ทางการผลิต (Mode of Production) ของวงการบันเทิงไทย ยุคดิจิทัลทำให้การทำข่าวบันเทิงไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และยุคดิจิทัลทำให้ผู้ชมมีอำนาจมากขึ้นอย่างไร

มองความสัมพันธ์ทางการผลิตข่าวบันเทิง ผ่านวิวัฒนาการเทคโนโลยี (ตอนที่ 1 )

2013.08.05

พิเชฐ ยิ่งเกียรติคุณ มองความเปลี่ยนแปลงทางความสัมพันธ์ทางการผลิต (Mode of Production) ของวงการบันเทิงไทย จากยุคแผ่นเสียง สู่ยุค MP3 และยุคยูทูบ

ดักฟังแค่ #metadata น่าจะโอเคไหม?

2013.07.07

ภาพนี้เป็นการคุยอีเมลของแอดมิน ช่วงปี 2005-2007 โดยเอาป้ายชื่อออก ไม่ให้เห็นว่าคุยกับใครบ้าง (เราเลือกในโปรแกรมได้) แต่ก็จะยังเห็นว่ามีการจับกลุ่มกี่กลุ่ม คุยกับกลุ่มไหนมากน้อยแค่ไหน เชื่อมโยงกันยังไง และถ้าลองเลื่อนเวลาให้โปรแกรมมันวาดภาพของปีต่างๆ เทียบกัน เราจะเห็นเลยว่า ชีวิตเราเคลื่อนจากคนกลุ่มนึงไปอีกกลุ่มนึงช่วงไหน ซึ่งจากข้อมูลนี้ก็พอจะบอกได้ว่า ตอนนั้นเรากำลังทำอะไรอยู่