Category: บทความ

จริยธรรมสื่อมวลชน บทเรียนปฏิรูปจากสหราชอาณาจักร

บทวิพากษ์ถึงการไต่สวนเลเวอสันกับกระแสปฏิรูปสื่อของสหราชอาณาจักร

2017.02.18

จริยธรรมสื่อในสหราชอาณาจักรถูกตั้งคำถามหนัก การกำกับกันเองเป็นจริงได้เพียงใด? จนนำมาสู่ข้อเสนอปฏิรูปครั้งใหญ่ แต่การให้รัฐมายุ่งเป็นความคิดที่ดีจริงหรือ?

Cyber Strain: ความตึงเครียดบนสังคมไซเบอร์

2016.08.22

ผลกระทบจากความตึงเครียดของผู้คนในสังคมจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ จากการสังเกตพฤติกรรมและสภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน ศึกษาประกอบกับทฤษฎีการกระทำความผิดในทางอาชญาวิทยา ตั้งประเด็นเชิญชวนให้แลกเปลี่ยนถกเถียง ร่วมกันขบคิดหาแนวทางที่เหมาะสม เพื่อนำไปสู่การใช้อินเทอร์เน็ตในทางสร้างสรรค์ต่อไป

“ข้อมูลเท็จ” การฟ้องหมิ่นประมาท กับพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550

2016.06.18 1 comment

พัฒนาการของนิยาม "ข้อมูลเท็จ" ตามมาตรา 14 ในพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550 กับการนำไปใช้ฟ้องหมิ่นประมาท โดย จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน นักวิชาการกฎหมายไซเบอร์

Cyberbullying: การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์และโศกนาฏกรรมของเมแกน ไมเออร์

2016.05.31 2 comments

รู้จักการกลั่นแกล้งกันบนพื้นที่ไซเบอร์ (cyberbullying) ผ่านโศกนาฏกรรมของเด็กหญิงเมแกน ไมเออร์ บทความโดย กฤษฎา แสงเจริญทรัพย์
แจ้งเตือนและแจ้งเตือน

รู้จักหลักการ “Notice and Notice” สำหรับการกำกับเนื้อหาออนไลน์

2016.05.19

เมื่อพูดถึงข้อยกเว้นความรับผิดของสื่อตัวกลาง เรามักพูดถึงกลไก Notice and Takedown แต่โลกนี้ยังมีกลไกอื่น เช่น Notice and Notice ที่เหมาะสมกว่าสำหรับเว็บยุค user-generated content เนื่องจากเป็นกลไกที่คำนึงถึงทั้งผู้ที่อาจถูกละเมิดสิทธิ์ สื่อตัวกลาง และผู้ใช้ที่เป็นผู้สร้างเนื้อหา

สแปมเมอร์ สแคมเมอร์ และโทรล : การชักใยบอตการเมือง

2016.04.13

แปลจาก Spammers, Scammers, and Trolls: Political Bot Manipulation เขียนโดย Sammuel Woolley

เมื่อเราถูกเลือกปฏิบัติบนฐานของ “ข้อมูล” : ค้นหาการเลือกปฏิบัติในระบบฐานข้อมูล

2016.04.13

จะทำอย่างไรเมื่อผู้คนถูกปฏิเสธที่อยู่อาศัย การประกันชีวิต และงาน บนพื้นฐานของข้อมูลที่บริษัทมีอยู่ ชวนมาทำความรู้จักกับการเลือกปฏิบัติในระบบข้อมูล เขียนโดย Darren Stevenson

11 ไม่ + 2 ไม่เชิง : สอดแนมในร่างพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ ได้มาตรฐาน “จำเป็น & ได้ส่วน” 13 ข้อหรือไม่

2016.04.06

ใครบอกกันว่า "การสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้เลย" บทความนี้จะทำให้คุณรู้ว่า เมื่อรัฐต้องการเก็บพยานหลักฐานจากใครก็ตาม รัฐควรต้องมีหลักปฏิบัติอย่างไร และมาดูกันซิว่า ร่างพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ได้มาตรฐานที่ว่าหรือเปล่า

หนึ่งวันของกัญญากับ Big Data และความเป็นส่วนตัว

2016.03.25

วันๆ หนึ่งเราถูกเก็บข้อมูลส่วนตัวอะไรบ้าง? เครือข่ายพลเมืองเน็ตขอพาไปรู้จักกับนางสาวกัญญา ออฟฟิศเลดี้ศตวรรษที่ 21 รวมทั้งทำความรู้จักกับ Big Data และความเป็นส่วนตัวในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
ความเป็นส่วนตัวด้านสุขภาพออนไลน์: คนไข้ตกอยู่ในความเสี่ยงในยุค Big Data

ความเป็นส่วนตัวด้านสุขภาพออนไลน์: คนไข้ตกอยู่ในความเสี่ยง

2016.03.11

เว็บไซต์กว่า 90% ปล่อยให้ข้อมูลของผู้ใช้รั่วไหล ประวัติการเข้าชมเว็บไซต์บ่งบอกถึงข้อกังวลด้านสุขภาพ และมันนำไปสู่การเลือกปฏิบัติเชิงพาณิชย์ เช่นการปฏิเสธไม่ให้ส่วนลดหรืออัตราดอกเบี้ยพิเศษ กฎหมายที่มีอยู่ก็ครอบคลุมไม่ถึง แล้วเราจะทำอะไรได้บ้าง?