Tag: internet governance

หนังสือใหม่! โลกใหม่ใครกำกับ? กรณีศึกษาเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต

2016.05.27

หนังสือที่นำกรณีศึกษาเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตมาวิเคราะห์และชวนให้ตั้งคำถาม เช่น กรณี Netflix กับ Verizon และความเป็นกลางของเครือข่าย, iCloud กับภาพหลุดดารา, นโยบายชื่อจริงของ Facebook, คดีสุรภักดิ์ ว่าด้วยการพิสูจน์พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์, จีรนุช ตัวกลางคดีมาตรา 112, การกำกับดูแลสกุลเงินบิทคอยน์, คดีปิดเว็บประชาไทกับการฟ้องกลับเจ้าหน้าที่รัฐ และจริยศาสตร์ว่าด้วยเพื่อนในโลกออนไลน์ เป็นต้น

หนังสือแนะนำ เปิดประตูสู่การอภิบาลอินเทอร์เน็ต

2016.05.27

หนังสือที่จะมาช่วยอธิบายความหมายของการอภิบาลอินเทอร์เน็ตผ่านแนวคิดตระกร้า 5 ใบ ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานและการกำหนดมาตรฐาน กฎหมาย เศรษฐกิจ การพัฒนาและสังคม-วัฒนธรรม แปลจาก An Introduction to Internet Governance เขียนโดย Jovan Kurbalija

ธนาคารโลก: อินเทอร์เน็ตไม่ใช่ยาวิเศษ จะใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ต้องมี “ปัจจัยร่วม”

2016.03.09

รายงานเปิดตัว World Development Report 2016: Digital Dividends และการเสวนา "ประเทศไทย: หนทางสู่เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล”

“วันหน้าเราจะครองอินเทอร์เน็ต” เยาวชนใช้ช่วงเปิดไมค์ร้องให้ IGF เปิดกว้างต่อคนรุ่นใหม่

2015.11.17

ทิ้งท้ายเวทีการอภิบาลอินเทอร์เน็ตโลก 2015 ฟรีดอมเฮาส์อ่านแถลงการณ์เสนอให้ต่ออายุเวที IGF เยาวชนระบุ IGF ยังเปิดให้เยาวชนมีส่วนร่วมไม่มากพอ ตัวแทนแอฟริการะบุ ขออย่าพูดแทนประเทศกำลังพัฒนา "แอฟริกาก็มีเสียงเหมือนกัน"

บ็องเชีย บราซิล! พาทัวร์หัวข้อน่าสนใจงาน IGF 2015 (เรียกน้ำย่อย)

2015.11.03

บ็องเชีย โจเอา เปสซัว! นับเวลาถอยหลังอีก 7 วัน งานประชุมระดับโลกว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เน็ต ครั้งที่ 10 ก็จะเริ่มขึ้นแล้ว เครือข่ายพลเมืองเน็ตขอหยิบหัวข้อเวิร์กช็อปที่น่าสนใจบางส่วน มารีวิวให้ฟังกัน

ทำไมต้องสนใจการอภิบาลเน็ต? โจวาน เคอร์บาลิจา แนะนำการอภิบาลเน็ต 101

2015.09.01

ถ้าให้เลือกระหว่างเน็ตกับฟาสต์ฟู๊ด คนอเมริกันเกิน 80 % ยอมไม่กินฟาสต์ฟู๊ด คนจีนมากกว่า 80 % ยอมสละช็อกโกแลต กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โจวาน เคอร์บาลิจา ยกผลสำรวจนี้มาเพื่อให้เห็นว่า เราต้องพึ่งพาอินเทอร์เน็ตมากเพียงใด และในอนาคต ประเด็นหลักๆ ที่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ตมีอะไรบ้าง

ชู “ความเป็นกลางทางเทคโนโลยี” ตัวส่งเสริมการแข่งขันและนวัตกรรมไอซีที

2015.07.24

3 ตัวแทนประชาสังคมต่างประเทศแลกเปลี่ยนมุมมองสื่อและการพัฒนา ยกข้อดีของกฎข้อบังคับที่ "เป็นกลางทางเทคโนโลยี" ชี้แนวคิดสิทธิมนุษยชนต้องถูกผนวกรวมอยู่ในกฎหมายสื่อ ระบุปัจจัยการสร้างสื่อพลเมืองคือ โครงสร้างพื้นฐานที่พร้อม ชุมชนที่มีความสามารถผลิตสื่อ และกฎหมายที่ไม่จำกัดสิทธิ

เก็บตกเนื้อหาน่าสนใจจากเวทีอภิบาลอินเทอร์เน็ตฯ APrIGF 2015

2015.07.08

เก็บตกเนื้อหาที่น่าสนใจจากเวิร์กช็อปต่างๆ ใน APrIGF 2015: วัฒนธรรมการขอความยินยอม/ เทคโนโลยี Blockchain: ตัวแก้ปัญหาธุรกรรมการเงินบนโลกที่ไม่มีใครไว้ใจใคร/ ความปลอดภัยความเป็นส่วนตัวในสมาร์ตซิตี้

เรียน​ท้าร้อน​ ชวนมาสมัคร “โรงเรียนพลเมืองเน็ต”

2015.05.03

อะไรคือการอภิบาลอินเทอร์เน็ต/เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม​ เกี่ยวอะไรกับการอภิบาลอินเทอร์เน็ต/ความเป็นส่วนตัวเป็นส่วนไหนของอินเทอร์เน็ต/สิทธิมนุษยชนบนอินเทอร์เน็ต/ทรัพย์สินทางปัญญา จำเป็นต้องรู้ไหม/การสอดส่องเป็นเรื่องจริงหรือแค่นิยาย ฯลฯ มาหาคำตอบกัน 29​-31 พ.ค. นี้ (3 วัน) ที่มธ. ท่าพระจันทร์ คลิกสมัครเลย

ชวนไปงาน CSDIG (ตอน 1) : สร้างนวัตกรรม & ทำรัฐให้โปร่งใส ด้วย “Open Government Data”

2015.02.10

ทุกวันนี้รัฐบาลมีข้อมูลจำนวนมากอยู่ในมือ จะดีกว่าไหมถ้านำข้อมูลเหล่านี้มาทำให้เป็น "ข้อมูลเปิด" ให้ใครๆหยิบไปใช้ เช่นนำไปสร้างธุรกิจใหม่ๆ พัฒนาเป็นแอปดีๆ ข้อมูลเหล่านี้ยังช่วยให้เราตรวจสอบได้ด้วยว่า ค่าเบิกจ่ายดูงานตปท.ของท่านรัฐมนตรี ก.เนี่ย แพงไปหรือเปล่า!