Tag: Internet censorship

Digital Weekly: 16 ก.ย.-3 ต.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบ 2 สัปดาห์

2015.10.03

เผยเอกสารข้อสั่งการนายกรัฐมนตรีให้จัดตั้ง "single gateway"/ ครม.เห็นชอบร่างบันทึกความเข้าใจระหว่างอาเซียนและจีนว่าด้วยความร่วมมือด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์-มีมติทบทวนร่างกฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล 2 ฉบับ พบเนื้อหาบางส่วนยังมีปัญหา/ เฟซบุ๊กล่มทั่วโลก/ ประยุทธ์เป็นตัวแทนไทยรับรางวัลส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลจากไอทียู ฯลฯ

Digital Weekly: 15 มิ.ย- 18 มิ.ย.2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.06.19

"เศรษฐกิจดิจิทัล" มาแล้ว ครม.เห็นชอบ ร่าง พ.ร.บ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมฯ/ ผบ.ตร.เสนอเชื่อมเน็ตต่างประเทศ​เหลือ​ช่องเดียว​ คุมง่าย/ รมว.ไอซีทีและผู้บริหาร กสท เห็นควรเลื่อนประมูล 4 จี/ ผอ.กรุงเทพโพลล์เสนอขายหวยแบบออนไลน์ แก้ปัญหาการขายสลากกินแบ่งเกินราคา ฯลฯ
เติม Happy ให้ประชาชน

เครือข่ายพลเมืองเน็ต: สนับสนุนผู้ประกอบการที่ปกป้องสิทธิของผู้บริโภค

2014.06.16

การปฏิรูปประเทศไม่สามารถทำได้โดยคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงลำพัง สังคมที่เป็นสุขและเป็นธรรมจะเกิดขึ้นได้ จำเป็นต้องอาศัยองค์กรธุรกิจที่มีธรรมาภิบาลช่วยขับเคลื่อน การทุจริตคอรัปชันในทุกส่วนของสังคมลดลงได้ ถ้าเราเพิ่มความโปร่งใสและความตรวจสอบเอาผิดได้ในส่วนที่เรารับผิดชอบ นั่นคือสิ่งที่เทเลนอร์และดีแทคได้ทำและเราขอขอบคุณ
courtesy to NathanaeIB on Flickr

ผลการวิจัย ราคาของการเซ็นเซอร์ (เบื้องต้น)

2012.07.31

ผลการวิจัยราคาของการเซ็นเซอร์: มุมมองทางเศรษฐศาสตร์ (เบื้องต้น) โดย สฤณี อาชวานันทกุล เผยแพร่ครั้งแรก ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555 "อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยายสาธารณะ" วันที่ 31 กรกฎาคม 2555

เครือข่ายพลเมืองเน็ต: กดไลก์ ไม่ใช่อาชญากรรม กระทรวงไอซีทีต้องทบทวนมาตรการจัดการ “เฟซบุ๊กหมิ่น” และ ข้อแนะนำต่อพลเมืองเน็ตเมื่อเจอหน้าเว็บที่ไม่ถูกใจ

2011.11.30

กดไลค์ ไม่ใช่อาชญากรรม หยุดสร้างภาระรับผิดให้ตัวกลาง รายงานการละเมิดอย่างรับผิดชอบ --- ภาครัฐ ผู้ให้บริการ และพลเมืองเน็ต ต้องร่วมกันรักษาพื้นที่เน็ตเพื่อประโยชน์สาธารณะ บนพื้นฐานของสิทธิพลเมืองและสิทธิมนุษยชน
Google Transparency Report - Thailand - January to June 2011

กูเกิลเปิดเผยข้อมูลรอบใหม่: กระทรวงไอซีทีติดต่อให้บล็อคยูทูบเพิ่มเติมอีก 225 ชิ้น ในครึ่งแรกของ 2554

2011.10.27

ข้อมูลจาก Google Transparency Report เปิดเผยว่า กระทรวงไอซีทีของไทย ติดต่อกูเกิลให้บล็อควิดีโอในยูทูบอีก 225 ชิ้น ในครึ่งแรกของปี 2554

ประชาสังคมอาเซียน: หยุด “คิด” ก่อนเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต

2011.06.22

ในโอกาสการประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลระดับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ประจำปี 2011 ที่สิงคโปร์ ภาคประชาสังคมในอาเซียน แสดงความเป็นห่วงต่อการควบคุมอินเทอร์เน็ตและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลออนไลน์ พร้อมกับย้ำว่าการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตนั้น จะต้องเป็นไปตามข้อแนะนำของผู้รายงานพิเศษของสหประชาชาติ ที่ได้เสนอต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ

จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาล และ ศอฉ. ให้ยุติการปิดกั้นสื่อ คืนพื้นที่การสื่อสารให้สังคม

2010.06.23

เรื่อง ขอให้เปิดเผยรายชื่อเว็บไซต์ที่ถูกปิดกั้นโดยคำสั่งตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉิน

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต เรื่องการปิดกั้นอินเทอร์เน็ตและการสื่อสารของประชาชน

2010.04.08

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต เรื่องการปิดกั้นอินเทอร์เน็ตและการสื่อสารของประชาชน สืบเนื่องจากรัฐบาลได้มีการประกาศพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 และได้มีการมอบหมายให้ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อยรับผิดชอบหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศนั้น ซึ่งนำไปสู่การปิดกั้นสื่อบางส่วนที่วิพากษ์วิจารณ์แนวทางการทำงานของรัฐบาล

ธนาพล อิ๋วสกุล: จดหมายถึงเครือข่ายพลเมืองเน็ต – คปส. – FACT

2009.01.29

ถึง เครือข่ายพลเมืองเน็ต คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ และ เครือข่ายเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์ประเทศไทย ตามที่ท่านที่เอ่ยนามมาข้างต้นจะเดินทางไปพบนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เพื่อยื่นจดหมายถึง นายกรัฐมนตรีในหัวข้อ “ข้อเสนอต่อนโยบายการกำกับดูแลสื่ออินเทอร์เน็ตและวิทยุชุมชน” ในวันอังคารที่ 13 มกราคม 2552 เวลา 8.30 น. นั้น ผมมีความเห็นดังต่อไปนี้