Tag: freedom of expression

Digital Weekly: 19-25 ก.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.08.02

วิกิลีกส์แฉ สำนักงานตำรวจแห่งชาติและกองทัพบกซื้อซอฟต์แวร์สอดแนมจาก Hacking Team 23 ล้านบาท/ อูเบอร์แจงเหตุปฏิเสธผู้โดยสาร/ ร่าง พ.ร.บ.การพัฒนาดิจิทัลฯ เตรียมเข้า สนช./ กกต. เตรียมเครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ต้นแบบ รับประชามติร่างรธน./ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมจัด "เวทีระดับชาติว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เน็ตของไทย"/ กองทุนกทปส.เห็นชอบให้เงินสนับสนุน 21 โครงการ วงเงิน 100 กว่าล้านบาท ฯลฯ

หลายภาคส่วนร่วมถก 13 ประเด็นอินเทอร์เน็ต

2015.07.24

ผู้มีส่วนได้เสียร่วมถกประเด็นอินเทอร์เน็ต: การกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต ความเป็นกลางทางอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตภาษาไทย การป้องกันเนื้อหาที่เป็นอันตรายต่อเยาวชน ความเป็นส่วนตัว การแสดงออกบนโลกออนไลน์ Cybersex การขับเคลื่อนนวัตกรรมด้วยข้อมูลเปิด EPUB การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สื่อออนไลน์และโอกาสในการมีส่วนร่วม และสถานการณ์ภัยคุกคามไซเบอร์

Digital Weekly: 12-18 ก.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.07.19

นายกสั่งห้ามเลื่อนประมูล 4 จี/ กสทช.เปิดรับฟังความคิดเห็นแล้ว ร่างหลักเกณฑ์ประมูล 4 จี/ คนไทยบุกแชตกวน ‘นาซ่า’ หลังภารกิจพลูโต/ กระทรวงไอซีทีดันตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษดิจิทัล/ ไลน์ ประเทศไทยเปิดบริการระบบชำระเงินออนไลน์/ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ฯ ออกแถลงการณ์ให้กองทัพเรือถอนฟ้องหมิ่นประมาท-พ.ร.บ.คอมฯ 2 นักข่าวภูเก็ตหวาน/ ศาลทหารให้ประกันตัวหญิงโพสต์เฟซบุ๊กหมิ่นประยุทธ์ วงเงิน 1 แสนบาท/ 2 กรรมการ กสทช. ประวิทย์-สุภิญญา ทำหนังสือแจงประเด็นไม่เห็นด้วยกับ "ร่างพ.ร.บ.กสทช." ฯลฯ

นักปฏิรูปสื่อเห็นพ้อง “ร่างพ.ร.บ.กสทช.จะทำลายความเป็นอิสระขององค์กรกำกับ”

2015.03.26 1 comment

นักวิชาการปฏิรูปสื่อและคนทำสื่อท้องถิ่นเห็นตรงกัน ร่างพ.ร.บ.กสทช.ไม่แก้ปัญหาธรรมาภิบาลกสทช. ซ้ำยังจะทำลายความเป็นอิสระขององค์กรกำกับดูแล ห่วงกฎหมายต้องการยึดคลื่นกลับสู่หน่วยงานรัฐ

ตัวแทนธุรกิจเพลง-หนังยืนยัน บล็อคเว็บละเมิดลิขสิทธิ์ “อย่างเจาะจง” ไม่กระทบเสรีภาพ

2015.03.10

IFPI, MPA และ True ตัวแทนผู้ประกอบการเนื้อหาไทยและเทศ ยืนยันการปิดกั้นเว็บไซต์เป็นมาตรการลดการละเมิดลิขสิทธิ์ที่เหมาะสม ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ช่วยรักษาศีลธรรม และสิทธิเสรีภาพของผู้บริโภคจะไม่ถูกกระทบหากการปิดกั้นมีความเฉพาะเจาะจงมากพอ
On the internet, nobody knows you're a dog

“ถ้าบริสุทธิ์ใจ ไม่ได้ทำอะไรผิด ก็เปิดเผยตัวสิว่าคุณเป็นใคร” (จริงไหม?)

2015.01.10

เราควรระบุตัวตนเมื่อท่องอินเทอร์เน็ตไหม? ถ้าทุกคนใช้ชื่อจริง โลกออนไลน์จะดีขึ้นหรือเปล่า? ชวนคิดว่าด้วยความเป็นนิรนามกับอินเทอร์เน็ต สิทธิเสรีภาพ vs การกลั่นแกล้งออนไลน์เมื่อใครๆ ก็ใช้ชื่อปลอม!
ประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม "ไม่เสรี"

ฟรีดอมเฮาส์จัดระดับเสรีภาพออนไลน์ไทย “ไม่เสรี” ตกไปต่ำกว่าพม่า

2014.12.05

ฟรีดอมเฮาส์ (Freedom House) เผยแพร่รายงานระดับเสรีภาพอินเทอร์เน็ตทั่วโลก Freedom on the Net 2014 ไทยตกไปอยู่ในกลุ่ม “ไม่เสรี” (62 คะแนน) ต่ำกว่าพม่าซึ่งอยู่ในกลุ่ม “กึ่งเสรี” (60 คะแนน) ชี้แนวโน้มรัฐบาลทั่วโลกควบคุมอินเทอร์เน็ตมากขึ้นและซับซ้อนขึ้น

การควบคุมข้อมูลข่าวสารในประเทศไทยนับแต่รัฐประหาร 2557 : งานวิจัยโดย Citizen Lab

2014.07.17

Citizen Lab มหาวิทยาลัยโตรอนโต แคนาดา ได้ทดสอบการเข้าถึงเว็บไซต์ในประเทศไทยระหว่าง 22 พฤษภาคม - 26 มิถุนายน 2557 โดยใช้การทดสอบหลายวิธีเพื่อดูว่าผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตคัดกรองการเข้าถึงเว็บไซต์อย่างไร และวิเคราะห์การรวมศูนย์ของโครงสร้างพื้นฐานในการคัดกรองเนื้อหา
Navy Captain Uses Computer Crimes Act to Sue Journalists for Criminal Defamation

กรณีนักข่าว PhuketWan ถูกกองทัพเรือไทยฟ้อง: นักข่าวที่ทำงานเปิดเผยการละเมิดสิทธิมนุษยชนต้องได้รับการคุ้มครอง

2013.12.18

กองทัพทัพเรือฟ้องสองนักข่าว "ภูเก็ตวัน" ด้วยพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ อ้างทำกองทัพเรือเสียชื่อเสียงจากการรายงานข่าวโรฮิงญา อเเลน มอริสัน และ ชุติมา สีดาเสถียร สองนักข่าวเข้ารายงานตัวกับตำรวจแล้วและปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา เครือข่ายพลเมืองเน็ตขอสนับสนุนการทำงานอย่างอิสระของสื่อ และเรียกร้องให้รัฐคุ้มครองให้สื่อมีสภาพการทำงานที่ปลอดภัย ไม่ถูกคุกคามทั้งทางกายภาพและทางกฎหมาย
การแสดงออกทางการเมือง การแทรกแซงโดยรัฐ และการยุติการไม่รับผิด ในอาเซียนระยะเปลี่ยนผ่าน

[22 พ.ย.] การแสดงออกทางการเมือง การแทรกแซงโดยรัฐ และการยุติการไม่รับผิด ในอาเซียนระยะเปลี่ยนผ่าน

2013.11.17

เสวนา "การแสดงออกทางการเมือง การแทรกแซงโดยรัฐ และการยุติการไม่รับผิด ในอาเซียนระยะเปลี่ยนผ่าน" ในโอกาสวันรณรงค์สากลเพื่อยุติการลอยนวลของผู้กระทำผิด และในโอกาสที่ผู้รายงานพิเศษของสหประชาชาติด้านเสรีภาพการแสดงออก นาย Frank La Rue เยือนประเทศไทย