Tag: freedom of expression

นิเทศจุฬาเปิดงานวิจัย "การกำกับดูแลสื่อออนไลน์ที่เผยแพร่เนื้อหาที่สร้างความเกลียดชัง"

เปิดงานวิจัย Hate Speech คำพูดเกลียดชังออนไลน์ไทย นิยามหลายระดับ กำกับต้องดูวัตถุประสงค์

2013.07.31

นิเทศจุฬา เปิดงานวิจัย "การกำกับดูแลสื่อออนไลน์ที่เผยแพร่เนื้อหาที่สร้างความเกลียดชัง" นิยามหลายระดับ กำกับต้องดูวัตถุประสงค์และความรุนแรง ยุค 2.0 สังคมควรมีส่วนร่วม ระบุนิยามและกลไกกำกับต้องชัดเจน ป้องกันถูกใช้เป็นข้ออ้างจำกัดเสรีภาพการแสดงออก
courtesy to NathanaeIB on Flickr

สรุปภาพรวมเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ตปี 2555

2013.05.20

สรุปภาพรวมเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ตปี 2555 ทั้งคดี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ และการปิดกั้นเว็บไซต์ ส่วนหนึ่งจากรายงานประจำปีของเครือข่ายพลเมืองเน็ตปี 2555 ซึ่งจะเผยแพร่เร็วๆ นี้

[30-31 ม.ค.] สัมมนาสหภาพยุโรป-ไทย ว่าด้วยการปรองดองและเสรีภาพในการแสดงออก

2013.01.23

พฤหัส 31 ม.ค. 10:45-12:30 จะมีวงเสวนา 2 วง / วงสองเกี่ยวกับกฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ จากไทยมีผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลกฎหมายฉบับดังกล่าว, ผู้อำนวยการเว็บไซต์ประชาไท ซึ่งถูกลงโทษจำคุกด้วยกฎหมายดังกล่าว, ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ต, และมีผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศคือผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายสาธารณะและรัฐกิจสัมพันธ์ กูเกิลเอเชียแปซิฟิก

ผู้ตรวจการพิเศษสหประชาชาติ: รายงานและข้อเสนอแนะด้านเสรีภาพการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ต

2011.08.24

รายงานว่าด้วยการสนับสนุนและปกป้องเสรีภาพในการแสดงความเห็นและการแสดงออก ซึ่งแฟรง ลา รู ผู้ตรวจการพิเศษสหประชาชาติด้านเสรีภาพการแสดงออก นำเสนอต่อที่ประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งรายงานดังกล่าวใช้เวลาเก็บข้อมูลในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเป็นเวลา 1 ปี (มี.ค. 2553 – มี.ค. 2554)

[17 Nov] Public Seminar: “Internet Politics and Intermediary Liability”

2010.11.10

Thai Netizen Network, Department of Government, Faculty of Political Sciences, and Media Policy Center, Faculty of Communication Arts, Chulalongkorn University cordially invite you to a public seminar “Internet Politics and Intermediary Liability”

[17 พ.ย.] สัมมนา “การเมืองเรื่องอินเทอร์เน็ตและภาระของตัวกลาง”

2010.11.10

เครือข่ายพลเมืองเน็ต ร่วมกับ ภาควิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ และ ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญเข้าร่วมงานสัมมนาสาธารณะ “การเมืองเรื่องอินเทอร์เน็ตและภาระของตัวกลาง”

ผู้สื่อข่าวไร้พรมแดนสรุปเสรีภาพเน็ตปี 2551

2009.01.29

องค์การผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน สรุปสถานการณ์เสรีภาพสื่อ 2551 ระบุเอเชีย แปซิฟิก มาเกร็บ (แอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ) และตะวันออกกลาง ยังคงเป็นพื้นที่อันตรายที่สุดสำหรับสื่อ และอินเทอร์เน็ตคือสมรภูมิใหม่ในการปิดกั้นควบคุม องค์การผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน หรือ Reporters Without Borders (RSF) ซึ่งเป็นองค์การระหว่างประเทศไม่แสวงกำไรที่เคลื่อนไหวรณรงค์ประเด็นเสรีภาพสื่อ จะจัดทำรายงานสถานการณ์เสรีภาพสื่อเป็นประจำทุกปี ทั้งรายงานภาพรวมทั่วโลก ตามภูมิภาค และตามประเทศ โดยปี 2551 ที่ผ่านมาได้สำรวจใน 98 ประเทศ โดยครั้งนี้ได้แยกเสรีภาพอินเทอร์เน็ตออกมาเป็นการเฉพาะด้วย ซึ่งในปีที่ผ่านมา มีบล็อกเกอร์ถูกจับ 59 ราย และถูกฆ่าหนึ่งราย