Category: แถลงการณ์

ธง ITU

องค์กรประชาสังคมทั่วโลกค้านข้อเสนอให้ ITU ดูแลเน็ต

2012.10.01

เพื่อสนับสนุนและคุ้มครองความเปิดกว้างของอินเทอร์เน็ตสากลและการใช้สิทธิมนุษยชนออนไลน์ พวกเราเขียนจดหมายฉบับนี้เรียกร้องบรรดารัฐสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) และตัวแทนของรัฐเหล่านั้นในการประชุมระดับโลกว่าด้วยการโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (WCIT) ให้ระงับการขยายขอบเขตของสนธิสัญญาข้อบังคับโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITRs) ไปสู่อินเทอร์เน็ต

[ALERT] ศาลจะอ่านคำพิพากษา คดี Internet กับภาระตัวกลาง “ผอ.ประชาไท” 30 เม.ย.นี้ Verdict on Thai Internet intermediary’s liability case to be delivered April 30

2012.04.23

ศาลอาญา รัชดา นัดฟังคำพิพากษาคดีที่ จีรนุช เปรมชัยพร ผู้อำนวยการเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท (prachatai.com) เป็นจำเลย ในคดีความผิดตามมาตรา 15 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ ในวันที่ 30 เม.ย.55 เวลา 10.00 น. บัลลังก์ 910

เครือข่ายพลเมืองเน็ต: กดไลก์ ไม่ใช่อาชญากรรม กระทรวงไอซีทีต้องทบทวนมาตรการจัดการ “เฟซบุ๊กหมิ่น” และ ข้อแนะนำต่อพลเมืองเน็ตเมื่อเจอหน้าเว็บที่ไม่ถูกใจ

2011.11.30

กดไลค์ ไม่ใช่อาชญากรรม หยุดสร้างภาระรับผิดให้ตัวกลาง รายงานการละเมิดอย่างรับผิดชอบ --- ภาครัฐ ผู้ให้บริการ และพลเมืองเน็ต ต้องร่วมกันรักษาพื้นที่เน็ตเพื่อประโยชน์สาธารณะ บนพื้นฐานของสิทธิพลเมืองและสิทธิมนุษยชน
ใจความหลักในแถลงการณ์ เรียกร้องต่อรัฐบาลประชาธิปไตยทั่วโลกให้สั่งห้ามมิให้ส่งออกเทคโนโลยีที่นำไปใช้ปราบปรามพลเมือง โดยขอให้รัฐบาลออกกฎหมายที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนให้บริษัทต่าง ๆ ในประเทศของตนสามารถปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณขององค์กรตนที่จะไม่ทำลายพลเมืองประเทศอื่น ๆ และคุ้มครองให้เกิดสนามการแข่งขันที่เท่าเทียม

นักเคลื่อนไหวเน็ตสากล ร้องทั่วโลก หยุดส่งออกเทคโนโลยีที่ใช้ปราบปรามประชาชน

2011.10.25

ในการประชุมระดับโลกว่าด้วยธรรมาภิบาลอินเทอร์เน็ต ณ สหประชาชาติ ประเทศเคนยา กลุ่มตัวแทนจากภาคประชาสังคม เรียกร้องต่อรัฐบาลประชาธิปไตยทั่วโลกให้สั่งห้ามมิให้ส่งออกเทคโนโลยีที่นำไปใช้ปราบปรามพลเมือง ให้ออกกฎหมายเพื่อสนับสนุนให้บริษัทต่าง ๆ ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณที่จะไม่ทำลายพลเมืองประเทศอื่น ๆ
กรณีที่เกิดขึ้นควรเป็นบทเรียนให้ทั้งผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการ และนักพัฒนาระบบ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการปกป้องสิทธิของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งหนึ่งในนั้นคือนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้ถูกละเมิดสิทธิเองในกรณีนี้ ทุกฝ่ายควรตระหนักว่าความปลอดภัยในอินเทอร์เน็ตไม่ใช่ภาระของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเท่านั้น และกรณีดังกล่าวต้องไม่ถูกใช้เพื่อสร้างความชอบธรรมในการออกมาตรการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน

เครือข่ายพลเมืองเน็ต: แถลงการณ์ต่อกรณีการเข้าสู่บัญชีทวิตเตอร์ของนายกรัฐมนตรีโดยไม่ได้รับอนุญาต

2011.10.04

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต กรณีบัญชีทวิตเตอร์ @PouYingluck ของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ถูกเข้าถึงโดยบุคคลอื่น ในวันที่ 2 ตุลาคม 2554 และได้เผยแพร่ข้อความจำนวน 8 ข้อความอย่างต่อเนื่อง มีเนื้อหาวิพากษ์นโยบายสาธารณะ

พลเมืองเน็ตถามนโยบายสิทธิอินเทอร์เน็ตกับพรรคการเมือง

2011.06.28

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต: ขอเรียกร้องให้พรรคการเมืองแถลงนโยบายเรื่อง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และสิทธิเสรีภาพประชาชนไทย -- ในโอกาสการเลือกตั้งทั่วไป 2554

Internet Rights are Human Rights: Reflections from Thailand

2011.06.18

Reflections to the side-event, “Internet Rights are Human Rights,” co-hosted by Association for Progressive Communications and Swedish Ministry of Foreign Affairs at the Human Rights Council’s 17th session. Friday June 3rd, 13:00-15:00, room XXV, Palais des Nations, Geneva.

Proposal for Legal Reform for Laws Concerning Freedom of Expression

2011.06.02

In Geneva, at the 17th session of UN Human Rights Council, Thai rights groups, namely iLaw, Thai Netizen Network, and Article 112: Awareness Campaign, made a statement calling for Thai government to uphold the right to freedom of expression of individuals and demanding a legal reform for Thailand’s draconian laws, particularly the Criminal Code Article 112 (lese majeste law) and Computer Crime Act.

เน็ตไทย 2553: โซเชียลมีเดียเพิ่มบทบาทในการเมือง บล็อคเว็บสูงเป็นประวัติการณ์

2011.04.07 1 comment

รายงานเสรีภาพอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย พ.ศ. 2553 โดย เครือข่ายพลเมืองเน็ต (เผยแพร่ครั้งแรก: ธันวาคม 2553) สถานการณ์โดยรวม การเข้าถึงโครงข่ายอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น แต่เสรีภาพในการเข้าถึงเนื้อหาน้อยลง สื่อทางสังคมอย่าง Facebook, Twitter, และ YouTube เพิ่มบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง เว็บไซต์ถูกปิดกั้นสูงเป็นประวัติการณ์ โดยเฉพาะระหว่างสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่มีการประกาศใช้กฎหมายพิเศษ ที่ให้อำนาจรัฐในการปิดกั้นเว็บโดยไม่ต้องขออำนาจศาล

“ชาวเน็ตอ้างไม่ได้ว่าไม่รู้กฎหมาย ศาลอ้างไม่ได้ว่าไม่รู้เน็ต ?”

2011.03.17

ข้อสังเกตจากเครือข่ายพลเมืองเน็ต ต่อคำพิพากษาของศาลอาญา ในคดีนายธันย์ฐวุฒิ ทวีวโรดมกุล ผู้ออกแบบเว็บไซต์ norporchorusa.com ซึ่งถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้โพสต์ข้อความหมิ่นประมาทกษัตริย์ลงในเว็บไซต์ดังกล่าว และถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ดูแลระบบของเว็บไซต์ดังกล่าว โดยตั้งคำถามถึงความเข้าใจเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของฝ่ายยุติธรรม ผลกระทบต่อเสรีภาพประชาชน และข้อสังเกตในการใช้หลักฐานบันทึกการจราจร