ความเคลื่อนไหว

กูเกิลเพิ่งเปิดให้บริการเว็บไซต์เครือข่ายสังคมที่ชื่อว่ากูเกิลพลัส (Google+) สิ่งที่ตามมาคือการถกเถียงกันอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับนโยบายเกี่ยวกับการใช้ชื่อในเครือข่ายสังคมแห่งใหม่นี้

สงครามชื่อ

2011.08.15

กูเกิลเพิ่งเปิดให้บริการเว็บไซต์เครือข่ายสังคมที่ชื่อว่ากูเกิลพลัส (Google+) สิ่งที่ตามมาคือการถกเถียงกันอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับนโยบายเกี่ยวกับการใช้ชื่อในเครือข่ายสังคมแห่งใหม่นี้ ด้วยเหตุผลที่ว่าบริการกูเกิลพลัสต้องการให้ผู้ใช้เชื่อมสัมพันธ์กันกับผู้คนในโลกของความเป็นจริง กูเกิลจึงมีนโยบายให้ใช้ชื่อสามัญ (common name) โดยกูเกิล อธิบายนโยบายดังกล่าวไว้ดังนี้
สำหรับปัญหาข้อมูลท่วมท้นในอินเทอร์เน็ต ในยุคนี้ อินเทอร์เน็ตอาจจะไม่มีคำตอบให้กับคำถามข้างต้น (เนื่องจากยังไม่มีใครเขียนถึงร้านอาหารแถวแยกเกษตร) แต่เสิร์ชเอนจินที่เก่ง ๆ อาจจะรายงานหน้าเว็บที่มีคำว่า “แยกเกษตร” ออกมาได้บ้าง

อินเทอร์เน็ตกับปัญหาข้อมูลท่วมท้น

2011.08.14

สำหรับปัญหาข้อมูลท่วมท้นในอินเทอร์เน็ต ในยุคนี้ อินเทอร์เน็ตอาจจะไม่มีคำตอบให้กับคำถามข้างต้น (เนื่องจากยังไม่มีใครเขียนถึงร้านอาหารแถวแยกเกษตร) แต่เสิร์ชเอนจินที่เก่ง ๆ อาจจะรายงานหน้าเว็บที่มีคำว่า “แยกเกษตร” ออกมาได้บ้าง

ติดตามข่าวคอมพิวเตอร์และกฎหมาย ไปกับ My Computer Law

2011.07.17

เว็บไซต์แคมเปญ My Computer Law กฎหมายคอมพิวเตอร์ภาคประชาชน เริ่มเสนอข่าวสารเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ที่มีแง่มุมเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและกฎหมาย

Google ร่วมกับมหาวิทยาลัยเยอรมนี ตั้งสถาบันวิจัยอินเทอร์เน็ตและสังคม

2011.07.14

เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ที่ผ่านมา เอริก ชมิดท์ ประธานกรรมการบริหารของกูเกิลประกาศสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันเพื่ออินเทอร์เน็ตและสังคมในกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี และตอนนี้บล็อกนโยบายสาธารณะยุโรปของกูเกิล ได้รายงานความคืบหน้าของโครงการดังกล่าว ว่าได้สถาบันวิชาการในเยอรมนี 4 แห่งมาร่วมเป็นสถาบันก่อตั้งแล้ว และจะเปิดดำเนินการในเดือนตุลาคมปีนี้

แนะนำหน่วยงานใหม่: สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (สรอ.)

2011.07.13

เมื่อต้นปีที่ผ่านมา รัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรแห่งใหม่ขึ้นมาเพื่อดูแลเรื่องรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะเฉพาะ ซึ้่งแน่นอนว่าจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิการเข้าถึงบริการของรัฐ และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของรัฐในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ วันนี้เลยจะขอแนะนำหน่วยงานดังกล่าว ซึ่งก็คือ “สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิสก์”

สลาวอย ชิเช็ก: มารยาทดีในยุควิกิลีกส์

2011.07.05

"มารยาทดีในยุควิกิลีกส์" สฤณี อาชวานันทกุล แปลจาก “Good Manners in the Age of WikiLeaks” โดย Slavoj Žižek. ตีพิมพ์ครั้งแรกใน London Review of Books, 20 มกราคม 2554

พลเมืองเน็ตถามนโยบายสิทธิอินเทอร์เน็ตกับพรรคการเมือง

2011.06.28

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต: ขอเรียกร้องให้พรรคการเมืองแถลงนโยบายเรื่อง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และสิทธิเสรีภาพประชาชนไทย -- ในโอกาสการเลือกตั้งทั่วไป 2554

[28 มิ.ย.] แถลงข่าวถามนโยบายอินเทอร์เน็ตพรรคการเมือง – เปิดตัวโครงการ “ร่างพ.ร.บ.คอมฯ ฉบับประชาชน”

2011.06.23

เครือข่ายพลเมืองเน็ต แถลงข่าว เรียกร้องพรรคการเมืองแถลงนโยบายการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และ เปิดตัวการจัดทำ ร่าง “พ.ร.บ.คอมฯ ฉบับประชาชน” ในวาระการเลือกตั้ง เครือข่ายพลเมืองเน็ตจะแถลงข่าวเรียกร้องให้แต่ละพรรคการเมืองเปิดนโยบายการแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ว่าจะให้เสรีภาพหรือลิดรอนสิทธิ และ นโยบายเสรีภาพอินเทอร์เน็ต ว่าจะบล็อคเว็บและจับกุมสื่อออนไลน์มากขึ้นน้อยลงอย่างไร

[27 Jun] เวทีอภิปรายก่อนการประชุม OECD: “To Regulate or Not to Regulate the Internet, That’s The Question” — LIVE Online

2011.06.23

เวทีอภิปรายการกำกับอินเทอร์เน็ต ก่อนการประชุม OECD เรื่องเศรษฐกิจอินเทอร์เน็ต -- Live Web Symposium Monday June 27 Noon North America EST

ประชาสังคมอาเซียน: หยุด “คิด” ก่อนเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต

2011.06.22

ในโอกาสการประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลระดับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ประจำปี 2011 ที่สิงคโปร์ ภาคประชาสังคมในอาเซียน แสดงความเป็นห่วงต่อการควบคุมอินเทอร์เน็ตและการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลออนไลน์ พร้อมกับย้ำว่าการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตนั้น จะต้องเป็นไปตามข้อแนะนำของผู้รายงานพิเศษของสหประชาชาติ ที่ได้เสนอต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ