Tag: surveillance

เสนอแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ให้รัฐมนตรีออกประกาศเข้าถึงข้อมูลที่ถูกเข้ารหัส SSL/TLS ได้

“Single Gateway” คืนชีพ ก.ไอซีทีเสนอในพ.ร.บ.คอมพ์ ให้มีวิธีระงับข้อมูลที่เข้ารหัส SSL

2016.05.26 4 comments

กระทรวงไอซีทีเสนอแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์มาตรา 20 ให้รัฐมนตรีออกประกาศใช้เครื่องมือพิเศษตรวจสอบและปิดกั้นข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสด้วย SSL ได้ นอกเหนือไปจากการปิดกั้นข้อมูลที่ไม่ผิดกฎหมาย

Digital Weekly: 24 มี.ค.- 7 เม.ย. 59 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบ 2 สัปดาห์

2016.04.08

ประธานสนช.เตือน โพสต์ชวนโหวต No ร่างรธน.โดยใช้ข้อมูลเท็จเสี่ยงผิด กม.ประชามติ-พ.ร.บ.คอม/ เห็นชอบข้อเสนอให้ตำรวจปิดเว็บแทนไอซีที จัดเทคโนโลยีวิเคราะห์พฤติกรรมออนไลน์/ เตรียมเสนอชุดร่างกม.เศรษฐกิจดิจิทัล 8 ฉบับเข้าครม./ LINE ถอดสติ๊กเกอร์ "ล่อแหลม" ออกจากแอป/ สวทช.เตรียมติดตั้งกล้องซีซีทีวีในภูเก็ต

11 ไม่ + 2 ไม่เชิง : สอดแนมในร่างพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ ได้มาตรฐาน “จำเป็น & ได้ส่วน” 13 ข้อหรือไม่

2016.04.06

ใครบอกกันว่า "การสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้เลย" บทความนี้จะทำให้คุณรู้ว่า เมื่อรัฐต้องการเก็บพยานหลักฐานจากใครก็ตาม รัฐควรต้องมีหลักปฏิบัติอย่างไร และมาดูกันซิว่า ร่างพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ได้มาตรฐานที่ว่าหรือเปล่า

สิ่งที่คุณยังไม่รู้ เกี่ยวกับ Big Data ใน Smart City

2016.02.23

ขณะที่เรากำลังตื่นเต้นกำกับถูกสอดแนมทางอินเทอร์เน็ต (ร่างพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ! ซิงเกิลเกตเวย์! ปอท.ซื้อระบบติดตามข้อมูลสังคมออนไลน์อัตโนมัติ!) ก็อย่าลืมไปว่าในอนาคตอันใกล้มากนี้ แม้ในยามที่เราชัตดาวน์โน้ตบุ๊ก เก็บแท็บเล็ต ปิดสมาร์ตโฟน และคิดว่าตนเองปลอดภัยจากการถูกจับตาทางออนไลน์เป็นแน่แท้ ถังขยะเทศบาลที่ตั้งอยู่ตรงป้ายรถเมล์ก็อาจจะแอบฟังเราอยู่ก็ได้

ย้อนเหตุการณ์ “สอดแนมการสื่อสาร” ปี 2558 และแนวโน้มความเป็นส่วนตัวออนไลน์ปี 2559

2016.02.19

มองย้อนเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับการสอดแนมในอดีตที่ผ่านมา 3 เหตุการณ์ “สอดแนม ไลน์” “แฮกกิ้งทีม” และ “ซิงเกิลเกตเวย์” กับผลกระทบต่อสิทธิส่วนบุคคลในการสื่อสาร (บทความโดย คณาธิป ทองรวีวงศ์)

ปอท.จัดซื้อระบบติดตามการใช้เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พันทิป วงเงิน 12.8 ล้าน

2016.01.25

ปอท.จัดซื้อระบบติดตามข้อมูลสังคมออนไลน์อัตโนมัติ เก็บข้อมูลการใช้เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พันทิป วงเงิน 12.8 ล้านบาท หวังป้องกันอาชญากรรมที่ใช้โซเชียลมีเดีย-เตรียมสังคมออนไลน์ให้พร้อมสู่สังคมเศรษฐกิจดิจิทัล

แฮ็กข้อมูลพลเมืองด้วยซอฟต์แวร์ เครื่องมือสอดแนมใหม่ของรัฐ [รายงาน APrIGF]

2015.07.06

“การสอดแนมแบบ passive ไม่เพียงพออีกต่อไปแล้ว คุณต้องเจาะระบบของคนที่ต้องการจะสอดแนม” เก็บตกการอภิปรายเทรนด์การสอดแนมในเอเชียแปซิฟิก

Digital Weekly: 9-15 พ.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.05.15

กสทช.ย้ำ เอกชนขายอุปกรณ์ดักฟังไม่ได้ เรียกบริษัทอิสราเอลชี้แจง/ คกก.ดิจิทัลฯ ชุดชั่วคราวเห็นชอบเสนอครม. อนุมัติ 3,700 ล้าน โครงการนำร่อง/ สมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีไอซีทีฯ เสนอนายกฯ ใช้มาตรา 44 ปรับรูปแบบประมูล 4 จี/ กฤษฎีกายกร่างพ.ร.บ.กสทช.และร่างการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลฯ เสร็จแล้ว

อ่านกันให้พอ: ออสซี่​รณรงค์​สำเนาเมลทุกฉบับถึง​อัยการ​สูงสุด​ ต้านกม.​เก็บข้อมูล​

2015.03.03

เชิญชาวออสเตรเลียที่ไม่เห็นด้วยกับกฎหมายเก็บบันทึกข้อมูล ร่วมกระหน่ำส่งสำเนาอีเมลถึงผู้สนับสนุนกฎหมายนี้ เพราะในเมื่อพวกเขาอยากรู้อยากเห็นข้อมูลของเรานัก เราก็ยินดีจัดให้!

ยัน “ความมั่นคง” ในร่างมั่นคงไซเบอร์ฯคือความมั่นคงสารสนเทศ ไม่ใช่ “ความมั่นคงทางทหาร”

2015.02.03

ผู้ร่างกม.เผย คนไทยไม่ค่อยใส่ใจความเป็นส่วนตัว/กม.คุ้มครองข้อมูลฯต้องให้เข้ากับบริบทแบบเอเชีย/ “ความมั่นคง” ในร่าง"มั่นคงไซเบอร์ฯ" คือความมั่นคงของระบบ ไม่ใช่ "ความมั่นคงทางทหาร"/ประธานTDRI ชี้ ศก.ดิจิทัลต้องคู่กับ Open Government