Tag: self-regulation

จริยธรรมสื่อมวลชน บทเรียนปฏิรูปจากสหราชอาณาจักร

บทวิพากษ์ถึงการไต่สวนเลเวอสันกับกระแสปฏิรูปสื่อของสหราชอาณาจักร

2017.02.18

จริยธรรมสื่อในสหราชอาณาจักรถูกตั้งคำถามหนัก การกำกับกันเองเป็นจริงได้เพียงใด? จนนำมาสู่ข้อเสนอปฏิรูปครั้งใหญ่ แต่การให้รัฐมายุ่งเป็นความคิดที่ดีจริงหรือ?

ทุน เจ้าของสื่อ และผู้ชม ต้นตอความ “ดราม่า” ในรายการทีวี

2015.02.05

กดแชร์ใน FB เหมือนดาบสองคม ผลิตซ้ำการละเมิดสิทธิต่อจากสื่อกระแสหลัก/สปช. ปิ๊งไอเดีย "ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสื่อ" แก้ปัญหาสื่อไร้จรรยาบรรณ
นิเทศจุฬาเปิดงานวิจัย "การกำกับดูแลสื่อออนไลน์ที่เผยแพร่เนื้อหาที่สร้างความเกลียดชัง"

เปิดงานวิจัย Hate Speech คำพูดเกลียดชังออนไลน์ไทย นิยามหลายระดับ กำกับต้องดูวัตถุประสงค์

2013.07.31

นิเทศจุฬา เปิดงานวิจัย "การกำกับดูแลสื่อออนไลน์ที่เผยแพร่เนื้อหาที่สร้างความเกลียดชัง" นิยามหลายระดับ กำกับต้องดูวัตถุประสงค์และความรุนแรง ยุค 2.0 สังคมควรมีส่วนร่วม ระบุนิยามและกลไกกำกับต้องชัดเจน ป้องกันถูกใช้เป็นข้ออ้างจำกัดเสรีภาพการแสดงออก
ขั้นตอนการดูแลเนื้อหาบนสื่ออินเทอร์เน็ตของ MOB

สพธอ.จับมือเครือข่ายสร้างมาตรฐานกำกับเนื้อหาเน็ต – นักวิชาการห่วง “ศาลเตี้ย”

2013.07.19

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และองค์กรเครือข่ายลงนามบันทึกความเข้าใจ ร่วมกำหนดมาตรฐานกำกับดูแลกันเองสำหรับเนื้อหาออนไลน์ สร้างกลไกร้องเรียนและนำเนื้อหาออก สมาคมอีคอมเมิร์ชตอบรับต้องมีเพื่อให้ทำธุรกิจง่าย สายด่วนคุ้มครองเด็กมองจำเป็นต้องมีวิธีติดตามการทำงาน กูเกิลเน้นต้องโปร่งใส ด้านนักสิทธิห่วงกลายเป็นเซ็นเซอร์ตัวเอง ขณะที่นักวิชาการกฎหมายชี้คำว่า "เนื้อหาไม่เหมาะสม" กว้างเกินไป ตั้งคำถามถึงกลไกตรวจสอบการใช้อำนาจ ไอซีทีเผยแก้พ.ร.บ.คอมใหม่ให้ระงับเว็บไซต้ไม่เหมาะสมได้ทันที ไม่ต้องรอกระบวนการกฎหมาย