Tag: Sarinee Achavanuntakul

กลัวอะไรครับ ถ้าไม่ได้ทำผิดก็ไม่ต้องกลัว

“ถ้าไม่ได้ทำผิด จะต้องกลัวอะไร?” ถามมา-ตอบไป กับ สฤณี อาชวานันทกุล

2015.01.26

"ทำไมควรค้านชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล?" สฤณี หรือ @Fringer บล็อกเกอร์และประธานกรรมการมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง ตอบคำถามที่ถามกันบ่อย

สฤณี อาชวานันทกุล: ข้อคิดเห็นต่อคำพิพากษาจำคุกโบรกเกอร์ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์

2013.01.11

พูดอีกอย่างคือ คำพิพากษาของศาลเท่ากับว่า การพูดว่า “ตอนนี้มีข่าวลือว่า xxx” ผิดกฎหมายเท่ากับการพูดว่า “ตอนนี้ xxx” ตราบใดที่ข่าวลือนั้นเป็นเท็จ ผู้เขียนมองว่าการตีความกฎหมายแบบนี้เป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก เนื่องจากเท่ากับว่าเราทุกคนมีภาระจะต้องไปตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนว่า ข่าวลืออะไรเป็นความจริง ข่าวลืออะไรเป็นความเท็จ ก่อนที่จะโพสต์ข้อความใดก็ตามบนอินเทอร์เน็ต จะบอกว่ามันเป็นข่าวลือก็ไม่ได้!

[14 ม.ค.] สัมมนา “โซเชียลมีเดีย” ทำให้โลกของคนไทยกว้างขึ้นหรือแคบลง?

2013.01.08

การอภิปรายเรื่อง “บทบาทของสื่อสังคมในการเปลี่ยนแปลงสังคม” โดย ณัฏฐา โกมลวาทิน (รอยืนยัน) — ผู้ประกาศข่าวและบรรณาธิการข่าวอาเซียน สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ภาวุธ พงษ์วิทยภานะ — กรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้งบริษัท TARAD.com สฤณี อาชวานันทกุล — เครือข่ายพลเมืองเน็ต โตมร ศุขปรีชา — บรรณาธิการอำนวยการนิตยสารจีเอ็ม สุภิญญา กลางณรงค์ — กสทช. ด้านการส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ดำเนินการอภิปรายโดย ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล — รองผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
courtesy to NathanaeIB on Flickr

ผลการวิจัย ราคาของการเซ็นเซอร์ (เบื้องต้น)

2012.07.31

ผลการวิจัยราคาของการเซ็นเซอร์: มุมมองทางเศรษฐศาสตร์ (เบื้องต้น) โดย สฤณี อาชวานันทกุล เผยแพร่ครั้งแรก ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555 "อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยายสาธารณะ" วันที่ 31 กรกฎาคม 2555

สลาวอย ชิเช็ก: มารยาทดีในยุควิกิลีกส์

2011.07.05

"มารยาทดีในยุควิกิลีกส์" สฤณี อาชวานันทกุล แปลจาก “Good Manners in the Age of WikiLeaks” โดย Slavoj Žižek. ตีพิมพ์ครั้งแรกใน London Review of Books, 20 มกราคม 2554

กลไกการกำกับดูแล: โค้ดสร้างค่านิยม ค่านิยมสร้างโค้ด

2011.06.14

ตอนที่ 5 ของคอลัมน์ “ความจริงจากโลกเสมือน” โดย สฤณี อาชวานันทกุล (พฤษภาคม 2554) วันนี้จะมาว่ากันเรื่อง “โค้ด” – โค้ดคอมพิวเตอร์ที่อยู่เบื้องหลังการทำงานของโปรแกรม เว็บไซต์ และทุกสิ่งทุกอย่างในโลกดิจิตอล แต่เราไม่ค่อยนึกถึงมันเพราะเรามองไม่เห็น หรือถ้าเห็นก็ไม่ค่อยได้ไตร่ตรอง

สฤณี อาชวานันทกุล: “10 + 10” สำหรับกฎหมายอินเทอร์เน็ต

2011.04.29

ตอนที่ 4 ของคอลัมน์ "ความจริงจากโลกเสมือน" โดย สฤณี อาชวานันทกุล ทดลองเสนอไอเดีย 10 เอา + 10 ไม่เอา สำหรับกฎหมายอินเทอร์เน็ต

กลไกกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต และปัญหาในไทย (2): ค่านิยมในสังคมสองขั้ว

2011.04.29

ตอนที่ 3 ของคอลัมน์ "ความจริงจากโลกเสมือน" โดย สฤณี อาชวานันทกุล วันนี้จะหันมามองกลไก “ค่านิยม” บ้าง ว่ามันทำงานอย่างไร ค่านิยมออฟไลน์ส่งผลกระทบต่อสังคมออนไลน์อย่างไร สังคมออนไลน์มี “ค่านิยมเฉพาะ” อะไรบ้างหรือไม่

สถาปัตยกรรมของอินเทอร์เน็ต: ลักษณะและนัยต่อความรับผิด

2011.01.31 6 comments

เมื่อโลกล่วงเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 อินเทอร์เน็ตก็ได้กลายเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตสำหรับคนส่วนใหญ่ที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นเด็กเล็กที่ชอบเล่นเกมออนไลน์ คนหนุ่มสาวที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นพื้นที่หลักในการรับรู้และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ไปจนถึงคนเฒ่าคนแก่ที่มีความสุขกับการได้กลับมาพบปะพูดคุยกับเพื่อนเก่าอีกครั้งผ่านเฟซบุ๊ก