Tag: net neutrality

Digital Weekly: 1-21 ธ.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบ 3 สัปดาห์

2015.12.21

จับผู้โพสต์แผนผังการทุจริตโครงการราชภักดิ์-คลิกไลก์ภาพหมิ่น/ เครือข่ายพลเมืองเน็ตออกแถลงการณ์ ย้ำคลิกไลก์ไม่ผิด-ม.14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ไม่ใช่เรื่องหมิ่นประมาท/ รมว.มหาดไทย ยันไม่ใส่ 'อาชีพ-รายได้' บนบัตรประชาชน/ เฟซบุ๊กปรับวิธีรายงานปัญหาชื่อปลอม-อธิบายเหตุผลที่เลือกใช้ชื่อง่ายขึ้น ป้องกันการรายงานกลั่นแกล้ง/ 'ศูนย์ทนายสิทธิ' จัดทำคำแนะนำหากถูกคุมตัวจากการโพสต์-แชร์ข้อความในโซเชียลมีเดีย/ ดีแทคจับมือมูลนิธิวิกิมีเดีย เปิดบริการแบบซีโรเรตติ้ง "Wikipedia Zero" ฯลฯ

รายงานภาพรวม เวทีอภิบาลเน็ตโลก 2015

2015.11.26

รายงานภาพรวมและประเด็นถกเถียงในเวที Internet Governance Forum 2015 (10-13 พ.ย. 58 ที่ผ่านมา) ทั้งเรื่องสิทธิมนุษยชนบนโลกออนไลน์ การเข้าถึง ความเป็นกลางทางเครือข่าย เศรษฐกิจอินเทอร์เน็ต ฯลฯ

สิทธิที่จะประท้วงออนไลน์ & Zero Rating ในประเทศกำลังพัฒนา: รายงานเวที IGF 2015

2015.11.26

สรุปเนื้อหาเวิร์กช็อป "สิทธิที่จะประท้วงออนไลน์" และ "Zero-rating และนโยบายความเป็นกลางทางเครือข่ายในประเทศกำลังพัฒนา" ในงาน Internet Governance Forum 2015

Digital Weekly: 18-25 พ.ย. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.11.26

เฟซบุ๊กเปิดบริการ "Free Basics" ในไทย ร่วมกับดีแทค/ พบแอป "Most Used Words" บนเฟซบุ๊กนำข้อมูลผู้ใช้ไปขายต่อ/ ศูนย์ทนายความมุสลิมชี้ ยังไม่มีกฎหมายให้อำนาจเจ้าหน้าที่เก็บดีเอ็นเอ/ กทม.มีกล้องซีซีทีวี 50,000 ตัว เชื่อมโยงข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ/ กระทรวงไอซีทีร่วมถกเวที TELMIN เตรียมรับรองแผนแม่บทไอซีทีอาเซียน 2020 ฯลฯ

ASEAN ICT Masterplan: ภาคประชาสังคมหายไปไหน?

2015.04.25

ภาคประชาสังคมร่วมถก แผนแม่บทอาเซียนไอซีทีขาดการมีส่วนร่วม เน้นให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจ ไม่สนใจเรื่องสิทธิมนุษยชน ความเป็นส่วนตัว ปัญหาเรื่องความรับผิดของรัฐ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร พร้อมระดมความเห็นว่าแผนแม่บทไอซีทีที่ดีควรเป็นเช่นไร

FCC เห็นชอบข้อบังคับใหม่ ห้ามปิดกั้นเนื้อหา+สนับสนุนความเป็นกลางทางอินเทอร์เน็ต

2015.02.27 1 comment

ข้อบังคับใหม่ระบุให้บริการอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์เป็นสาธารณูปโภคอย่างหนึ่ง ประธานให้เหตุผลของการลงมติว่า การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมีความสำคัญ "มากเกินกว่าที่จะปล่อยให้ผู้ให้บริการบรอดแบนด์เป็นคนออกกฎ"
แผนที่แสดงปริมาณการใช้เทคโนโลยี DPI เพื่อตรวจข้อมูลในเครือข่าย

ผลวิจัยระบุ ISP ไทย ส่องข้อมูลเน็ตสูงอันดับต้นของโลก

2012.11.23

คณะนักวิจัยนานาชาติพบการตรวจข้อมูลในเครือข่ายโดยผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตของไทย 3 ราย คือทรู ทีโอที และสามบีบี ตั้งแต่ปี 2552, 2553, 2554 โดยเมื่อถ่วงน้ำหนักทั้งประเทศแล้ว ประเทศไทยมีอัตราการตรวจข้อมูลในระดับสูง หรือ "ทำกันโดยทั่วไป" (pervasive) ติดต่อกันทุกปี และสูงที่สุดในปี 2553 หนึ่งในคณะวิจัยระบุว่าส่วนใหญ่แล้วการตรวจดังกล่าวทำด้วยเหตุผลทางธุรกิจเพื่อจัดการปริมาณจราจร แต่เทคโนโลยีเดียวกันสามารถใช้เพื่อเฝ้าระวังทางการเมืองได้