ความเคลื่อนไหว

การประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลปี 2007

(สรุปสั้นๆ) การมีส่วนร่วมในการจัดทำนโยบายอินเทอร์เน็ต : กระบวนการระดับภูมิภาคและระดับสากล #tcr2012

2012.09.11

สรุปเนื้อหาจากเสวนา "การมีส่วนร่วมในการจัดทำนโยบายอินเทอร์เน็ต : กระบวนการระดับภูมิภาคและระดับสากล" ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555: “อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยบายสาธารณะ” วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555 อาคารศูนย์การเรียนรู้ สำนักงานไทยพีบีเอส ถนนวิภาวดีรังสิต

Giving up on technicality is giving away your liberty (VDO interview with SEAPA Director)

2012.09.01

A video interview with SEAPA executive director which touches on four key issues: Why Internet access is human rights?, What are the roles of governments to protect Internet rights? What about civil society?, What to do with Internet Governance Forum and International Telecommunication Union?, Why we have to understand technology behind the Internet?

นวัตกรรมนโยบายสาธารณะ : พลเมืองดิจิทัล พลวัตทางเทคโนโลยี #tcr2012

2012.08.07

เอกสารจากการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองครั้งที่ 1 ช่วงเสวนา “นวัตกรรมนโยบายสาธารณะ : พลเมืองดิจิทัล พลวัตทางเทคโนโลยี” เมื่อวันที่ 31 ก.ค. 2555
courtesy to NathanaeIB on Flickr

ผลการวิจัย ราคาของการเซ็นเซอร์ (เบื้องต้น)

2012.07.31

ผลการวิจัยราคาของการเซ็นเซอร์: มุมมองทางเศรษฐศาสตร์ (เบื้องต้น) โดย สฤณี อาชวานันทกุล เผยแพร่ครั้งแรก ในการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2555 "อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยายสาธารณะ" วันที่ 31 กรกฎาคม 2555

[31 ก.ค.] Tech+Rights เชิญร่วมการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองครั้งที่ 1

2012.07.17

ณ หอประชุม องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย The 1st Technology and Civil Rights Conference Tuesday, July 31, 2012 9:00-17:00
โรงเรียนพ(ล)บค่ำ #3: การต่อต้านเชิงสร้างสรรค์/การต่อต้านเชิงวัฒนธรรม: เวิร์กช็อปเชิงยุทธวิธีสำหรับศิลปินและนักกิจกรรม

เคลื่อนด้วยศิลปะ เขย่าด้วยวัฒนธรรม: บันทึกจากโรงเรียนพ(ล)บค่ำ #3

2012.07.01

ความท้าทายที่เกิดขึ้นเมือนำศิลปะมาเกี่ยวข้องกับการรณรงค์ต่อต้านต่างๆ ก็คือ ศิลปะเป็นสิ่งที่เล่นกับจินตนาการ ศิลปินต้องการพื้นที่ในการสร้างสรรค์สิ่งที่ออกไปเล่นกับจินตนาการของผู้คน แต่การรณรงค์ในด้านการเมืองจำเป็นต้องมีข้อความที่ชัดเจน ว่ากำลังพูดถึงอะไร จะเปลี่ยนแปลงอะไร และจะทำอย่างไร ดังนั้นความท้าทายของการนำศิลปะมาใช้ในการรณรงค์ต่อต้านเรื่องใดๆ จึงอยู่ที่จะทำอย่างไรให้สามารถหาสมดุลระหว่าง พื้นที่ที่เปิดให้จินตนาการทำงาน กับ ความชัดเจนของข้อความที่ต้องการจะสื่อสาร นั่นหมายความว่า จำเป็นที่จะต้องเข้าใจทั้ง ธรรมชาติของศิลปะ และ ธรรมชาติของการรณรงค์
มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง วัฒนธรรม ฉบับออกตัว

มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง วัฒนธรรม ฉบับ “ออกตัว” — วางแผงแล้ว

2012.06.12

วางแผงแล้ว -- หนังสือเล่มนี้รวมเนื้อหาคัดสรรจากเทศกาลเน็ตติเซ่นมาราธอนและงานเสวนาโดยเครือข่ายพลเมืองเน็ตระหว่างปี 2010 และ 2011 ประกอบกับบทความเพิ่มเติมจากวิทยากรในงานเสวนาและนักเขียนรับเชิญ ซึ่งมีทั้งผู้ใช้เน็ต นักกิจกรรม นักวิชาการ ศิลปิน นักสื่อสารมวลชน และอีกสารพัด เพื่อเปิดพื้นที่วิจัย "ออนไลน์ศึกษา"

ศาลเลื่อนอ่านคำพิพากษาคดีตัวกลางอินเทอร์เน็ต (ผอ.ประชาไท) 30 พ.ค. Thai Court postpones verdict reading of Internet liability’s case (Prachatai director) to May 30

2012.04.30

ศาลเลื่อนการอ่านคำพิพากษาคดีผอ.ประชาไท ไป 30 พ.ค. Thai Court postponed the verdict reading of Prachatai director to May 30.

Factsheet on Thai Internet intermediary’s liability case (Prachatai director), verdict April 30

2012.04.27 2 comments

A 7-page report by Sinfah Tunsarawuth encapsulates all important details about the pivotal case of Thai Internet intermediary's liability, in which Chiranuch Premchaiporn, director of Prachatai.com, is the defendant, awaiting verdict on April 30.

สรุปความเคลื่อนไหว คดี Internet กับภาระรับผิดของตัวกลาง “ผอ.ประชาไท”

2012.04.25

สรุปความเคลื่อนไหว และรายละเอียดคดี และคำอธิบายความสำคัญ คดีอินเทอร์เน็ตกับภาระของตัวกลาง ผอ.ประชาไท จีรนุช เปรมชัยพร ที่นี่