ความเคลื่อนไหว

ห้างสรรพสินค้ารู้ความลับของคุณได้อย่างไร?

2013.09.04

ข้อเขียนนี้เรียบเรียงจากบทความ How Companies Learn Your Secrets โดย Charles Duhigg
Privacy

[รายงาน] คน อินเทอร์เน็ต และความเป็นส่วนตัว: สำรวจสถานการณ์การละเมิดความเป็นส่วนตัวออนไลน์ในสังคมไทยช่วงครึ่งปีแรก พ.ศ. 2556

2013.08.21

รายงานความก้าวหน้าการวิจัยโครงการความเป็นส่วนตัวออนไลน์ / ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ สิงหาคม 2556

แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองเน็ต: รัฐไทยต้องให้ความชัดเจนเรื่องการสอดส่องประชาชนบนไลน์และสื่อสังคมอื่น

2013.08.13 1 comment

แถลงการณ์ ซึ่งรวมคำถาม ข้อเรียกร้อง และคำแนะนำต่อรัฐไทยและผู้ให้บริการ ที่จะรับมือกับข่าวลืออย่างไร ไม่ให้ละเมิดสิทธืประชาชน
คน อินเทอร์เน็ต และความเป็นส่วนตัว

[21 ส.ค.] สัมมนา “คน อินเทอร์เน็ต และความเป็นส่วนตัว” สรุปการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวออนไลน์ในไทย ม.ค.-มิ.ย. 2556

2013.08.10

โครงการสิทธิความเป็นส่วนตัวออนไลน์ เครือข่ายพลเมืองเน็ต รายงานความก้าวหน้างานวิจัยและสำรวจสถานการณ์การละเมิดความเป็นส่วนตัวในสังคมออนไลน์ไทย ม.ค.-มิ.ย. 2556 พุธ 21 ส.ค. 9:30-12.00 ชั้น 4 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์

มองความสัมพันธ์ทางการผลิตข่าวบันเทิง ผ่านวิวัฒนาการเทคโนโลยี (ตอนจบ)

2013.08.07

ตอนจบของบทความโดย พิเชฐ ยิ่งเกียรติคุณ มองความเปลี่ยนแปลงทางความสัมพันธ์ทางการผลิต (Mode of Production) ของวงการบันเทิงไทย ยุคดิจิทัลทำให้การทำข่าวบันเทิงไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และยุคดิจิทัลทำให้ผู้ชมมีอำนาจมากขึ้นอย่างไร
14 ส.ค. 13:00-16:00 ห้อง 401/5 อาคารมหาจักรีสิรินธร

[14 ส.ค.] บรรยายสาธารณะ “ทรัพย์สินทางปัญญาในยุคอินเทอร์เน็ตและข้อตกลงการค้าเสรี” @ อักษรจุฬา

2013.08.07

บรรยาย "บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายรัฐบาล (GAC) ในเวทีนโยบายอินเทอร์เน็ตสากล" โดย วรรณวิทย์ อาขุบุตร / บรรยาย "การปฏิรูประบบทรัพย์สินทางปัญญากับการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้าและข้อมูลข่าวสาร" โดย ไมเคิล ไกสท์

มองความสัมพันธ์ทางการผลิตข่าวบันเทิง ผ่านวิวัฒนาการเทคโนโลยี (ตอนที่ 1 )

2013.08.05

พิเชฐ ยิ่งเกียรติคุณ มองความเปลี่ยนแปลงทางความสัมพันธ์ทางการผลิต (Mode of Production) ของวงการบันเทิงไทย จากยุคแผ่นเสียง สู่ยุค MP3 และยุคยูทูบ
นิเทศจุฬาเปิดงานวิจัย "การกำกับดูแลสื่อออนไลน์ที่เผยแพร่เนื้อหาที่สร้างความเกลียดชัง"

เปิดงานวิจัย Hate Speech คำพูดเกลียดชังออนไลน์ไทย นิยามหลายระดับ กำกับต้องดูวัตถุประสงค์

2013.07.31

นิเทศจุฬา เปิดงานวิจัย "การกำกับดูแลสื่อออนไลน์ที่เผยแพร่เนื้อหาที่สร้างความเกลียดชัง" นิยามหลายระดับ กำกับต้องดูวัตถุประสงค์และความรุนแรง ยุค 2.0 สังคมควรมีส่วนร่วม ระบุนิยามและกลไกกำกับต้องชัดเจน ป้องกันถูกใช้เป็นข้ออ้างจำกัดเสรีภาพการแสดงออก
Urs Gasser ขณะบรรยาย

วัยรุ่นอเมริกันห่วงชื่อเสียงมากกว่าความเป็นส่วนตัว เลือกแชร์-ลบ-คบเพื่อนบนโซเชียลมีเดีย

2013.07.20

สรุปการบรรยายสาธารณะ "วัยรุ่น สื่อสังคม และอนาคตของความเป็นส่วนตัว" -- พบวัยรุ่นอเมริกันห่วงชื่อเสียงมากกว่าความเป็นส่วนตัว ร้อยละ 95 ใช้อินเทอร์เน็ต เกือบทั้งหมดใช้เฟซบุ๊กและเกือบทั้งหมดเป็น “เพื่อน” กับสมาชิกในครอบครัว ในขณะที่อินสตาแกรมได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากวัยรุ่นรู้สึกแสดงออกได้มากกว่า นักวิจัยตั้งข้อสังเกต วัยรุ่นไม่ไร้เดียงสา รู้ว่าควรแชร์อะไรในบริบทไหน
Privacy

[งาน] เจ้าหน้าที่โครงการ Online Privacy (ครึ่งเวลา) 1 ตำแหน่ง

2013.07.19

เครือข่ายพลเมืองเน็ตรับสมัครเจ้าหน้าที่โครงการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวออนไลน์ 1 ตำแหน่ง ทำงาน 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ช่วยประสานการอบรมสัมมนาเรื่องความปลอดภัยในการใช้เน็ต เดินทางนอกกรุงเทพได้ ถ้าเรียนคอมพิวเตอร์มาจะดีมาก