Tag: personal data

ความจำเป็นของการมีกฎหายดักรับข้อมูลเพื่อใช้ในการอำนวยความยุติธรรม

ถกหนัก กฎหมายดักฟัง นักกฎหมายเตือนต้องเจาะจง ชั่งน้ำหนักสาธารณะ VS บุคคล

2014.12.26

นักกฎหมายชี้ กฎหมายดักฟังมีได้ แต่ต้องครบเงื่อนไข 9 ข้อ เหตุผล-เป้าหมาย-เวลาต้องชัดเจน ยังกังวลหลายอย่าง เช่น คดีทั่วไปอาจกลายเป็นคดีพิเศษไปหมด เจ้าหน้าที่อาจใช้อำนาจในทางมิชอบ กฎหมายที่ยังคลุมเครือและจะทำให้มีปัญหาภายหลัง ระบุต้องรักษาสมดุลระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิของบุคคล ด้านผู้บังคับใช้กฎหมายระบุ เพื่อคุ้มครองผู้เสียหาย เจ้าหน้าที่ต้องมีเครื่องมือทำงานเพียงพอ ไม่ต้องการละเมิดสิทธิ
ไม่มีความปลอดภัย ไม่คุ้มครองข้อมูลลูกค้า = ตัดโอกาสทางธุรกิจ

ไม่คุ้มครองความปลอดภัยและเป็นส่วนตัวให้ผู้บริโภค = “ตัดโอกาสทางธุรกิจ” ของตัวเอง

2014.12.23

นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญชี้ การมีมาตรการคุ้มครองข้อมูลผู้บริโภคที่ดีคือโอกาสทางธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรมควรกดดันกันเองให้เกิดมาตรฐาน ขณะที่รัฐต้องดูว่าเรื่องใดที่กลไกตลาดอาจไม่เพียงพอแล้วเข้าไปกำกับดูแลและส่งเสริม สิ่งสำคัญคือการสร้างความตระหนักในทุกระดับการทำงาน เพราะที่ผ่านมาการรั่วไหลส่วนใหญ่เกิดจากคนในองค์กร

สรุปข่าวประเด็นข้อมูลส่วนบุคคล-ความเป็นส่วนตัว ก.ค.-ส.ค. จาก MyComputerLaw.in.th

2011.08.31

สรุปความเคลื่อนไหวทั่วโลกเรื่องสิทธิในความเป็นส่วนตัว-สิทธิในข้อมูลส่วนบุคคล รอบกรกฎาคม-สิงหาคม 2554 จากเว็บไซต์ My Computer Law

Ars Technica รายงาน: ชาวไทยสัญชาติอเมริกาที่ถูก DSI กักขัง ฟ้องเว็บโฮสต์ที่บอกข้อมูลของเขาให้รัฐบาลไทย

2011.08.30 4 comments

Ars Technica เว็บไซต์ข่าวเทคโนโลยีรายงานคดีพลเมืองสหรัฐเชื้อสายไทยฟ้องบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต จากกรณีบริษัทดังกล่าวส่งข้อมูลส่วนตัวของเขาให้กับรัฐบาลไทย จนทำให้เขาถูกกักขัง เอกสารคำฟ้องระบุการละเมิดสิทธิผู้ถูกกล่าวหาโดยเจ้าหน้าที่ดีเอสไอของไทย และการละเมิดสิทธิในความเป็นส่วนตัวตามกฎหมายหลายฉบับของทั้งแคนาดาและสหรัฐอเมริกา

ฮิวแมนไรท์สยูเอสเอ: พลเมืองสหรัฐฟ้องบริษัทเว็บโฮสติ้ง ฐานส่งข้อมูลบุคคลของเขาให้รัฐบาลไทย

2011.08.26

องค์กรสิทธิมนุษยชนสหรัฐฯ รายงานกรณีพลเมืองสหรัฐถูกทางการไทยจับกุมและสอบสวน ทั้งในประเทศไทยและในสหรัฐอเมริกา เหตุเกี่ยวพันกับเว็บไซต์ Manusaya.com ที่ทางการไทยกล่าวหาว่ามีเนื้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ