Tag: digital forensics

พยานหลักฐานดิจิทัลมีอยู่ทุกหนแห่ง จะจัดการอย่างไรให้น่าเชื่อถือ

2015.07.13

พยานหลักฐานดิจิทัลมีอยู่ทุกหนแห่ง “ในโลกแห่งการเชื่อมต่อกันดังปัจจุบัน แทบเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะสามารถอยู่ ‘นอกเครือข่าย’ อย่างสมบูรณ์เพื่อที่กิจกรรมต่างๆ ของเราจะได้ไม่สร้างบันทึกอิเล็กทรอนิกส์บางรูปแบบขึ้น” และใครจะไปรู้ สักวันบันทึกอิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นก็อาจถูกนำมาใช้กับคุณก็ได้ มารู้จักกระบวนการเก็บรวบรวมและพิสูจน์หลักฐานดิจิทัลกันดีกว่า

Digital Weekly: 26 มิ.ย.-4 ก.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.07.05

แฮกเกอร์โจมตีเว็บสถาบันการศึกษาและบริษัทห้างร้านไทย/ ตำรวจหิ้วมือถือ 5 ผู้ต้องหากลุ่มปชต.ใหม่ไปจากจุดเกิดเหตุโดยยังไม่ปิดผนึกซอง ทนายเผยมือถือยังไม่ถูกตรวจข้อมูล โต้ ผบช.น.ให้ข้อมูลไม่เป็นจริง/ Sanook! ลงทุนระบบวิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้ ชวนอีก 10 เว็บเชื่อมโยงข้อมูลลูกค้า/ กมธ.ยกร่างฯ เบรกข้อความเจ้าของคลื่นความถี่เป็นพลเมือง ชี้ตัดโอกาสกลุ่มอาเซียนลงทุนโทรคมนาคม ฯลฯ

เปิดวงเสวนาว่าด้วย “พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์” กับ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

2015.03.24

หลักการ "ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องพิสูจน์" ใช้ได้มากน้อยแค่ไหนกับพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์? เคยสงสัยไหม ว่าถ้าโดนเจ้าหน้าที่ตำรวจยึดมือถือไป มือถือคุณจะผ่านมือใครบ้างจนกระทั่งถึงศาล? พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ เชื่อถือได้แค่ไหน? มาร่วมหาคำตอบกัน

ความเห็นเชิงเทคนิคต่อคดีนายอำพล (อากง SMS)

2011.12.30

บทความโดย วสันต์ ลิ่วลมไพศาล ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone ถามถึงความเป็นไปได้ และข้อสงสัยอื่น ๆ ที่มีต่อหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ในคดีนายอำพล หรือคดี "อากง SMS"
static page request

หน้าเว็บอยู่ที่ไหน?

2011.11.16

การสอบถามกับผู้ดูแลเว็บว่าหน้าเว็บนี้อยู่ที่ไหน คงไม่ต่างกับถามแม่ค้าขายข้าวผัดกะเพราว่าส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้าวจานนี้มาจากไหน เราอาจจะพอทราบว่าไก่ต้องมาจากฟาร์มเลี้ยงไก่ ถามต่อไปอาจจะทราบว่าไก่มาจากบริษัทอะไร แต่แม่ค้าคงไม่ทราบว่าฟาร์มอยู่ที่ไหน ... ในกรณีของหน้าเว็บหนึ่ง ๆ ก็ไม่ต่างกัน