Tag: cloud

ประเทศไทยนำ Big Data ไปใช้ประโยชน์อะไรแล้วบ้าง? มาดูงานวิจัยของวิศวะ จุฬาฯ กัน

2016.04.01

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ นำเสนอ 7 ผลงานนำ Big Data ไปใช้ประโยชน์: วิเคราะห์สเตตัสเฟซบุ๊ก วางแผนการจราจร ทำแอปค้นหาร้านอาหาร ใช้ประโยชน์ในสาขาการแพทย์ชีวภาพ วิเคราะห์ข่าวลือทางการเมือง ฯลฯ เราเก็บตกบางส่วนมาฝากกัน

ปอท.เผย ขอข้อมูลจากเฟซบุ๊ก กูเกิล – ไม่ง่าย [Digital Forensics Lectures ครั้ง 3]

2015.10.27

ตัวแทนจาก ปอท.และ สพธอ. มาเล่าถึงการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล ในบรรยายสาธารณะว่าด้วยหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์และการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล (ครั้งที่ 3)

แอปหนึ่งติดไวรัส แอปอื่นพลอยติดไปด้วย: ความท้าทายใหม่ของสมาร์ตโฟน

2015.10.02

ความเสี่ยงของอาชญากรรมไซเบอร์ในคลาวด์ต่างจากความเสี่ยงในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลอย่างไร ดร.ลอรี เหลา ผู้เชี่ยวชาญเรื่องอาชญากรรมไซเบอร์และระบบคลาวด์มาบรรยายให้ฟัง

Digital Weekly: 15-27 ส.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.08.27

พรชัย รุจิประภา พ้นตำแหน่ง รมว.ไอซีที/ ห้ามใช้ไลน์-ข้อความ-คลิป ในลักษณะยุั่วยุรณรงค์รัฐธรรมนูญ อาจผิดคำสั่ง คสช./ เฟซบุ๊กเตรียมเปิดสำนักงานในไทย/ นักกฎหมายเตือนผู้ใช้โซเชียลมีเดียรับส่งข่าวเหตุระเบิดราชประสงค์อย่างมีสติ แพร่ข่าวเท็จอาจผิด พ.ร.บ.คอมฯ/ กสทช. สั่งเพิ่มสัญญาณ'มือถือ-เน็ต' ตลอดเส้นทางปั่นเพื่อแม่-เห็นชอบกฎเกณฑ์การประมูลความถี่ 1800 เมกะเฮิร์ตซ์ ร่วมมือหน่วยงานกำกับดูแลโทรคมนาคมกัมพูชา แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ฯลฯ

“สิทธิความเป็นส่วนตัวของท่าน ท่านยกให้ฝรั่งอเมริกันไปแล้ว” ประธานความมั่นคงไซเบอร์ กสทช.เตือน

2015.04.04

สรุปเนื้อหาเสวนา "ความท้าทายยุคดิจิทัล...ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์กับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล" วิทยากรระบุ ความเชื่อมั่นจำเป็นต่อเศรษฐกิจดิจิทัล-ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยไซเบอร์เป็นสิ่งคู่กัน

ระบอบเจ้าที่ดินและความปลอดภัยของอินเทอร์เน็ต

2013.07.01

การเปิดโปงโครงการดักฟังข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตหรือโครงการ “ปริซึม” (PRISM) ของสหรัฐอเมริกา (NSA) นำมาสู่การถกเถียงอย่างกว้างขวางทั่วโลก โดยเฉพาะประเด็นการละเมิดสิทธิในความเป็นส่วนตัว สิ่งที่น่าสนใจประการหนึ่งคือ ขณะที่เราฝากข้อมูลสำคัญต่างๆ ในชีวิตของเราไว้ในอินเทอร์เน็ตมากขึ้นเรื่อยๆ เราในฐานะปัจเจกชนได้รับความคุ้มครองและมีความเป็นส่วนตัวมากน้อยแค่ไหน Bruce Schneier เสนอให้มองความสัมพันธ์ระหว่างเรากับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตว่าเป็นระบอบเจ้าที่ดินยุคใหม่ การเปรียบเทียบลักษณะนี้อาจทำให้เราเห็นทางออกด้านความปลอดภัยของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากระบบเจ้าที่ดินได้