Tag: digital economy

ปอท.จัดซื้อระบบติดตามการใช้เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พันทิป วงเงิน 12.8 ล้าน

2016.01.25

ปอท.จัดซื้อระบบติดตามข้อมูลสังคมออนไลน์อัตโนมัติ เก็บข้อมูลการใช้เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พันทิป วงเงิน 12.8 ล้านบาท หวังป้องกันอาชญากรรมที่ใช้โซเชียลมีเดีย-เตรียมสังคมออนไลน์ให้พร้อมสู่สังคมเศรษฐกิจดิจิทัล

Digital Weekly: 14-18 ม.ค. 2559 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2016.01.19

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เล็งทบทวนนำ ′ซิงเกิลเกตเวย์′ มาใช้ หลังเว็บรัฐถูกแฮกบ่อย/ กมธ.ปฏิรูปสื่อเชิญกูเกิลเข้าพบ-กูเกิลกังวลพ.ร.บ.คอมฯ คลุมเครือ/ ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ให้ทรัพยากรคลื่นความถี่กลับไปอยู่ในมือรัฐ ประธาน กรธ.โต้ รัฐนั้นก็คือประชาชน/ สนช.เสนอเก็บภาษีโฆษณาออนไลน์จากผู้ลงโฆษณากับ 'กูเกิล-เฟซบุ๊ก'/ ร่าง พ.ร.บ.คอม เตรียมเข้าครม. กุมภานี้-รื้อยกแผง "กฎหมายดิจิทัล" ตั้งทีมยกร่างใหม่ นำร่างเข้าสนช. เดือนมีนา

Digital Weekly: 30 ธ.ค. 2558 – 13 ม.ค. 2559 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบ 2 สัปดาห์

2016.01.14

เว็บสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ-ศาลยุติธรรมถูกแฮ็ก อ้างชื่อแฮกเกอร์พม่าและ Anonymous โยงคดีเกาะเต่า/ รัฐบาลหารือการระงับเนื้อหาหมิ่นสถาบันฯ เผยประสานงานยูทูบ-กูเกิล/ กระทรวงไอซีที ดันแผนเศรษฐกิจดิจิทัลเข้าบอร์ดปลายเดือนนี้/ กทค.ประชุมเรื่อง กองทัพฟ้องแผนแม่บท กสทช./ เน็ตฟลิกซ์ เปิดบริการในไทยแล้ว ฯลฯ

Digital Weekly: 22-29 ธ.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.12.29

ศาลฎีกาพิพากษายืน ผอ.ประชาไท ผิด พ.ร.บ.คอม กรณีลบข้อความหมิ่นในเว็บบอร์ดช้า/ ครม. อนุมัติงบโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล 3.75 พันล้านบาท-อนุมัติแผนยุทธศาสตร์ระบบชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์/ สปท.เล็งเสนอใช้ ม.44 ฟันสื่อออนไลน์กระทบมั่นคง ปี 59 เดินหน้าคุย กูเกิล-ไลน์-เฟซบุ๊ก/ จับตัวผู้ต้องหาสร้างเฟซบุ๊กปลอมโพสตข้อความหมิ่นฯ หลังทะเลาะเพื่อน/ ทีโอทีเตรียมผันมาเป็นผู้ให้เช่าเสาโทรคมนาคม อานิสงส์ประมูลคลื่น 900 ฯลฯ

หลังรัฐประหาร 57 คสช. คุมเน็ตด้วยวิธีใด?

2015.12.24

ทำไม คสช.อยากควบคุมโลกไซเบอร์? แล้วทำด้วยวิธีไหน? "เศรษฐกิจดิจิทัล" ถูกยกขึ้นมาบังหน้าหรือไม่? คสช.ต้องมีอะไรบ้าง หากอยากคุมเน็ตได้แบบจีน? อ่านสรุปเสวนา "ระบอบการกำกับดูแลโลกไซเบอร์ไทย นับแต่รัฐประหาร 22 พ.ค. 57"

Digital Weekly: 1-21 ธ.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบ 3 สัปดาห์

2015.12.21

จับผู้โพสต์แผนผังการทุจริตโครงการราชภักดิ์-คลิกไลก์ภาพหมิ่น/ เครือข่ายพลเมืองเน็ตออกแถลงการณ์ ย้ำคลิกไลก์ไม่ผิด-ม.14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ไม่ใช่เรื่องหมิ่นประมาท/ รมว.มหาดไทย ยันไม่ใส่ 'อาชีพ-รายได้' บนบัตรประชาชน/ เฟซบุ๊กปรับวิธีรายงานปัญหาชื่อปลอม-อธิบายเหตุผลที่เลือกใช้ชื่อง่ายขึ้น ป้องกันการรายงานกลั่นแกล้ง/ 'ศูนย์ทนายสิทธิ' จัดทำคำแนะนำหากถูกคุมตัวจากการโพสต์-แชร์ข้อความในโซเชียลมีเดีย/ ดีแทคจับมือมูลนิธิวิกิมีเดีย เปิดบริการแบบซีโรเรตติ้ง "Wikipedia Zero" ฯลฯ

Digital Weekly: 16-22 ต.ค. 2558 สรุปข่าวนโยบายดิจิทัลรอบสัปดาห์

2015.10.23

กสท.เตรียมเสนอ "อินเทอร์เน็ตเกตเวย์แห่งชาติ" ปัดไม่ใช่ซิงเกิลเกตเวย์/ กลุ่มต้านซิงเกิลเกตเวย์อ้างได้โจมตีเว็บหน่วยงานรัฐอีกครั้ง/ กองทัพเตรียมตั้ง "กองสงครามไซเบอร์"/ ยกฟ้องคดี 112 ชี้แค่ IP address บอกไม่ได้ว่าจำเลยเกี่ยวโยงกับข้อความ ฯลฯ

อย่าเข้าใจผิด จุดประสงค์ กม.มั่นคงไซเบอร์คือความมั่นคงระบบไอที ไม่ใช่ “ความมั่นคงของชาติ”

2015.10.20

นักนิติศาสตร์ชี้ กม.มั่นคงไซเบอร์ควรมุ่งปกป้องระบบไอทีสำคัญ ส่วนการเปิดช่องให้ออกกฎกระทรวงเพื่อยกเว้นไม่ต้องขอความยินยอม เป็น “รูรั่ว” ของร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

หวั่น ร่างพ.ร.บ.คอมฉบับใหม่ เปิดช่องให้เลี่ยงมาตรา 20 สั่งปิดเว็บไซต์

2015.10.19

สาวตรี สุขศรี นักวิชาการนิติศาสตร์ระบุ มาตรา 14, 15, 20 ในร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ยังมีปัญหา ห่วงปัญหาใหม่ "เลี่ยงมาตรา 20" ไปใช้ประกาศ รมต.ปิดเว็บไซต์แทน

“สอดแนมต้องขอหมายศาล” ผู้ช่วย รมว.ไอซีทีเผยแนวโน้มร่างกฎหมายมั่นคงไซเบอร์ฯ

2015.10.18

ผู้ช่วยรัฐมนตรีไอซีทีเผยความคืบหน้าชุดร่างกฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล พร้อมระบุ กฎหมายดิจิทัลต้องเป็นสากล ต้องเปิดเวทีให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้าร่วม ส่วนการเข้าถึงการสื่อสารประชาชนใน พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ยังไงก็ต้องขอหมายศาล