Tag: data protection

โครงสร้างใหม่(?หน่วยงานไอซีทีแห่งชาติ

เปิดผัง 11 หน่วยงานใหม่ “ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” ของขวัญปีใหม่จากรัฐบาลประยุทธ์

2015.01.07 1 comment

คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการร่างกฎหมาย 10 ฉบับ ตั้ง 11 หน่วยงานใหม่ เปลี่ยนโฉมโครงสร้างการกำหนดและกำกับนโยบายไอซีทีไทย อย่างไรก็ตามยังมีข้อเป็นห่วงเรื่องอำนาจหน้าที่และความรับผิดของหน่วยงานใหม่ รวมถึงการคุ้มครองสิทธิด้านข้อมูลข่าวสารของประชาชน
ความจำเป็นของการมีกฎหายดักรับข้อมูลเพื่อใช้ในการอำนวยความยุติธรรม

ถกหนัก กฎหมายดักฟัง นักกฎหมายเตือนต้องเจาะจง ชั่งน้ำหนักสาธารณะ VS บุคคล

2014.12.26

นักกฎหมายชี้ กฎหมายดักฟังมีได้ แต่ต้องครบเงื่อนไข 9 ข้อ เหตุผล-เป้าหมาย-เวลาต้องชัดเจน ยังกังวลหลายอย่าง เช่น คดีทั่วไปอาจกลายเป็นคดีพิเศษไปหมด เจ้าหน้าที่อาจใช้อำนาจในทางมิชอบ กฎหมายที่ยังคลุมเครือและจะทำให้มีปัญหาภายหลัง ระบุต้องรักษาสมดุลระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิของบุคคล ด้านผู้บังคับใช้กฎหมายระบุ เพื่อคุ้มครองผู้เสียหาย เจ้าหน้าที่ต้องมีเครื่องมือทำงานเพียงพอ ไม่ต้องการละเมิดสิทธิ
ไม่มีความปลอดภัย ไม่คุ้มครองข้อมูลลูกค้า = ตัดโอกาสทางธุรกิจ

ไม่คุ้มครองความปลอดภัยและเป็นส่วนตัวให้ผู้บริโภค = “ตัดโอกาสทางธุรกิจ” ของตัวเอง

2014.12.23

นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญชี้ การมีมาตรการคุ้มครองข้อมูลผู้บริโภคที่ดีคือโอกาสทางธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรมควรกดดันกันเองให้เกิดมาตรฐาน ขณะที่รัฐต้องดูว่าเรื่องใดที่กลไกตลาดอาจไม่เพียงพอแล้วเข้าไปกำกับดูแลและส่งเสริม สิ่งสำคัญคือการสร้างความตระหนักในทุกระดับการทำงาน เพราะที่ผ่านมาการรั่วไหลส่วนใหญ่เกิดจากคนในองค์กร

จะปลดปล่อยพลังของ Big Data ต้องจัดการกับความเป็นส่วนตัวให้ได้เสียก่อน

2014.12.17

Internet Society และพันธมิตรจัดประชุม “ความเป็นส่วนตัวในโลกอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง” หารือเรื่อง Big Data และ Internet of Things กับความเป็นส่วนตัว ผู้เชี่ยวชาญชี้ นี่เป็นยุคแห่ง "data ethic" พร้อมถกประเด็นการคุ้มครองข้อมูลในยุคที่ข้อมูลเป็นดิจิทัลและไร้พรมแดน
13 Principles

หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิมนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร

2014.01.29

International Principles on the Application of Human Rights to Communications Surveillance หลักการเหล่านี้เป็นผลมาจากการปรึกษาหารือระดับสากลกับบรรดากลุ่มภาคประชาสังคม ภาคอุตสาหกรรม และผู้ชำนาญการระหว่างประเทศด้านกฎหมาย นโยบาย และเทคโนโลยีการสอดแนมการสื่อสาร

สะสม แบ่งแยก เลือกปฏิบัติ: การตลาดด้วยข้อมูลส่วนตัว

2014.01.22

การใช้ข้อมูลเพื่อการตลาดทำให้การจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวของคนทั่วไปเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ มีการซื้อขายข้อมูลส่วนตัวซึ่งเก็บรวบรวมจากชีวิตประจำวันของเราทั้งออนไลน์และออฟไลน์โดยละเอียด การตลาดด้วยข้อมูลกระจายไปทุกวงการ ลูกค้าของบริษัทนายหน้าค้าข้อมูลมีตั้งแต่ ห้างสรรพสินค้า ธนาคาร บริษัทโทรคมนาคม ไปจนถึงผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และหน่วยงานรัฐ ข้อมูลส่วนตัวที่ถูกเก็บสะสมทีละน้อยในตลาดค้าข้อมูลยังถูกใช้เพื่อแบ่งแยกและเลือกปฏิบัติอีกด้วย

ความเป็นส่วนตัว: เรื่องร้อนในเวทีอินเทอร์เน็ตภิบาลครั้งที่ 8 #IGF2013

2013.10.28

สรุปประเด็นถกเถียงในประเด็นความเป็นส่วนตัว จากที่ประชุมอินเทอร์เน็ตภิบาลครั้งที่ 8 ทั่วโลกตื่นตัวเรื่องความเป็นส่วนตัวและการสอดส่องการสื่อสาร เยาวชนห่วงการควบคุมข้อมูลส่วนตัวบนสื่อสังคม ภาคประชาสังคมเรียกร้องมาตรการป้องกันการละเมิดสิทธิ ในขณะที่รัฐบาลหลายประเทศแสดงความไม่พอใจอย่างชัดเจนต่อกรณีโครงการสอดแนมของสหรัฐอเมริกา โดยบราซิลและเยอรมนีเป็นหัวขบวนในการเคลื่อนไหวเรื่องนี้สู่เวทีระหว่างประเทศ

ทำไมต้องกลัวถูกดักฟัง แม้คุณจะไม่มีอะไรต้องซ่อน?

2013.09.09

"ถ้าคุณไม่มีอะไรต้องซ่อน งั้นหมายความว่าคุณจะให้ผมถ่ายรูปคุณเปลือย และผมจะมีสิทธิเต็มที่ในรูปภาพนั้น ผมจะโชว์รูปให้เพื่อนบ้านของคุณดูได้ไหม..." เป็นคำตอบจากผู้อ่านบล็อกของ Daniel Solove เมื่อเขาถามว่าคิดอย่างไรกับข้อถกเถียงเรื่อง "ไม่มีอะไรต้องซ่อน" (Nothing To Hide) บทความนี้ชวนให้ตั้งคำถามกับการตอบโต้ที่ว่า "ถ้าไม่ได้ทำอะไรผิด ก็ไม่เห็นต้องกลัวอะไร" แปล-ตัดบางส่วน-เรียบเรียง จากบทความชื่อ Why Privacy Matters Even if You Have 'Nothing to Hide' โดย Daniel J. Solove
หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง

[25 ก.ย.] “หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง: ความเป็นส่วนตัวออนไลน์และการสอดส่องการสื่อสาร” ประชุมประจำปี #tcrc13

2013.09.05

พุธ 25 ก.ย. 2556 08:30-16:30 / ห้อง 5303 อาคาร 5 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถนนวิภาวดี-รังสิต / คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และเครือข่ายพลเมืองเน็ต ขอเชิญร่วมการประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองประจำปี 2556 ในหัวข้อ “หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง: ความเป็นส่วนตัวออนไลน์และการสอดส่องการสื่อสาร (Online Privacy and Communications Surviellance)”

ห้างสรรพสินค้ารู้ความลับของคุณได้อย่างไร?

2013.09.04

ข้อเขียนนี้เรียบเรียงจากบทความ How Companies Learn Your Secrets โดย Charles Duhigg